Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐภัทร กลิ่นจะโป๊ะ, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:30:50Z-
dc.date.available2023-09-21T03:30:50Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9662-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนจระเข้หินสังฆกิจวิทยา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนจระเข้หินสังฆกิจวิทยา ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559 จำนวน 313 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้านได้แก่ (1) ด้านประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่นักเรียนใช้ คือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทแอพพลิเคชั่น บนมือถือ (2) ด้านจุดมุ่งหมายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนคือ เพื่อการผ่อนคลายและความบันเทิงนำไปสู่การมีความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ และแรงบันดาลใจในการ เรียนรู้ (3) ด้านสถานที่ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนคือ บ้านเรือนที่พักอาศัยของตน (4) ด้านการบริการอินเทอร์เน็ตที่นักเรียนใช้คือ อินเทอร์เน็ต ไร้สายผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ (5) ด้านช่วงเวลาและความถี่ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนคือ ช่วงเวลากลางคืนและใช้ทุกวัน (6) ด้านผลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน คือ ทำให้สามารถติดต่อสื่อสารสะดวกขึ้น และ (7) ด้านความต้องการพัฒนาพฤติกรรมเพื่อใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ของนักเรียนคือ ความรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนจระเข้หินสังฆกิจวิทยาth_TH
dc.title.alternativeInformation and communication technology usage behaviors for learning of secondary education students at Chorakhe Hin Sangkhakit Wittaya Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study information and communication technology usage behaviors for learning of secondary education students at Chorakhe Hin Sangkhakit Wittaya School. The research population consisted of 313 secondary education students studying in the first semester of the 2016 academic year at Chorakhe Hin Sangkhakit Wittaya School. The employed research instrument was a questionnaire on information and communication technology usage behaviors for learning of secondary education students. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall information and communication technology usage behavior for learning of secondary education students was at the high level. When specific aspects of the usage behavior were considered, it was found that the items receiving the highest rating mean for each aspect were as follows: (1) in the aspect of category of information technology that the students used, the item on online application social network on mobile phone; (2) in the aspect of students’ objectives for using the information and communication technology, that on using the technology for relaxation and entertainment leading to the creation of creative thinking, imagination, and inspiration for learning; (3) in the aspect of the place where the students used the information and communication technology, that on the students’ home or residence; (4) in the aspect of the Internet service that the students used, that on Wi-Fi Internet via mobile phone network; (5) in the aspect of time interval and frequency of using the information and communication technology by the students, that on daily usage at night time; (6) in the aspect of results of using the information and communication technology by the students, that on the facilitation of communication; and (7) in the aspect of the needs for development of the information and communication technology usage behaviors of the students, that on for upgrading their knowledge on information and communication technology in order to keep up with new advancements in technology.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151733.pdf8.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons