Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธรรมนูญ มาลานนท์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:42:58Z-
dc.date.available2023-09-21T03:42:58Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9664-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ (2) พฤติกรรมการใช้บริการ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดต่อการตัดสินใจใช้บริการ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้บริการ (5) ปัญหาการ ให้บริการทันตกรรม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้ที่เคยใช้บริการคลีนิก/ โรงพยาบาลที่ให้บริการทันตกรรม ที่ไม่ทราบจำนวนประชากร ใช้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน ใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามความน่าจะเป็น สุ่มตามความสะดวก โดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ สถิติแบบพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิง อนุมาน ได้แก่ การทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุ 25-40 ปี มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพพนักงานลูกจ้างเอกชน รายได้ 10001-25000 บาทต่อเดือน (2) พฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า ส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาอาการทั่วไป เลือกใช้บริการจากความน่าเชื่อถือของคลีนิก/โรงพยาบาล ตัดสินใจใช้บริการด้วยตัวเอง เวลารับ บริการคือวันจันทร์ถึงวันศุกร์ช่วงเช้า เลือกโรงพยาบาลรัฐบาล การรับบริการไม่สม่ำเสมอ (3) ปัจจัย ส่วนประสมการตลาดต่อการตัดสินใจใช้บริการที่มีระดับความสำคัญมาก คือ ปัจจัยด้านบริการ สถานที่ ราคา และปัจจัยที่มีระดับความสำคัญปานกลาง คือ ปัจจัยด้านการสื่อสารการตลาด (4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่าโดยส่วนใหญ่ เพศ การศึกษา และรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการ ส่วนอายุและอาชีพมี ความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (5) ปัญหาการให้บริการทันตกรรมที่พบมาก ที่สุดคือปัญหาค่าบริการแพงเมื่อเทียบกับคุณภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทันตกรรม--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคของผู้ใช้บริการทันตกรรมในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior of dental patients in Pluakdaeng Sub-district, Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study personal factors of dental patients; (2) to study the customer behavior for receiving service; (3) to study marketing mix factors affecting customers’ decision for receiving service; (4) to study the relationship between personal factors and the customer behavior for receiving service; and (5) to study problems of dental services. The study was a survey research. Population was the patients of dental clinics or dental service in the hospitals. The sample was 400 patients selected by using convenience sampling method. Questionnaires were used for data collection. The data was analyzed by using both descriptive statistics: frequency, percentage, mean, and standard deviation and inferential statistic: chi-square. The results showed that (1) most of dental patients were female, aged 25-40 years, lower educational degrees, private employees, income 10,001-25,000 THB; (2) most of dental patients received the general dental service; selected the trusted clinics or hospitals; made decision by themselves; selected service time in the morning between Monday to Friday; selected the government hospitals; and received service irregularly; and (3) service, place, and price were the most important marketing mix factors affecting patients’ decision making while marketing communication was important at the moderate level; (4) gender, education background, and income did not relate to the customer behavior for receiving service whereas age and occupation related to the customer behavior for receiving service at the statistically significant 0.05 level; and (5) the most important problem of dental service was an expensive charge compared with the quality.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135415.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons