Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธวัช ฟักนิกรณ์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T07:48:27Z-
dc.date.available2023-09-21T07:48:27Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9678-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหาร ชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร และ (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิต การทำงานของนายทหารชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ นายทหารประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร จำนวน 508 นาย กลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของ ทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวน 224 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือโดยพัฒนาแบบสอบถาม ตามแนวความคิดคุณภาพชีวิตการทำงาน ของ Richard E. Walton นำข้อมูลที่รวบรวมได้มา ประมวลผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยวิธีการทดสอบค่าทีและค่าเอฟ การทดสอบค่าเฉลี่ยความ แตกต่างรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ จากผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร ทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ด้านพัฒนาความรู้ความสามารถ ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในการทำงาน ด้านบูรณาการ ทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้านสิทธิของของกำลังพล ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิต ส่วนตัว และด้านการปกครองบังคับบัญชา มีคุณภาพชีวิตการทำงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) นายทหารชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร ที่มีลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกัน มีระดับคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อตรวจสอบเป็นรายด้าน พบว่า นายทหาร ชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพร ที่มีระดับเงินเดือนแตกต่างกัน มีระดับ คุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทหารชั้นประทวน--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารชั้นประทวน ค่ายเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดทหารบกชุมพรth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of noncommission officers at Fort Keatudomsak Military District Chumphornen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) the quality of work life level of non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province and (2) the comparison belonging to the quality of life of non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province which classified by personnel factors. This study was a quantitative research. The population was 508 non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province. The sample size was calculated by Taro Yamane for 224 samples. This research gathered data by using a questionnaire which based on the concept of quality of working life by Richard E. Walton. The statistic used to analyze data was a descriptive statistics by using frequency, percentages, mean, standard deviation (S.D), t-test, f-test and multiple comparison test (Sheffe's Method). The results showed that: (1) the overall quality of life level of non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province in 7 aspects was at high level when considering in each aspect was found that : the sufficient compensation and fair was at the middle followed by the knowledge and abilities development, the working progress and stability, the social integration or collaboration, the employee rights, the balancing between work and personal life and the administrative command were at high level respectively (2) the comparison belonging to the quality of work life with the different personal factors did not affect toward the quality of work life of non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province when considering in each person found that the different of monthly salary had affected to a quality of work life for non-commission officers at Fort Keatudomsak Military District, Chumphorn Province with the significant at the 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150183.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons