Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระภรณ์ ตันติชัยรัตนกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนรัตน์ ชวณิชย์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T07:55:49Z-
dc.date.available2023-09-21T07:55:49Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9679-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด (2) เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลของพนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด และ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้าง ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด จำนวนทั้งสิ้น 135 คน เป็นการศึกษาในประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยประชากร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด อยู่ในระดับมาก (2) เมื่อใช้สถิติเชิงอนุมานในการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด ได้แก่ เพศ อายุ สัญชาติ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน ตำแหน่งงาน และลักษณะงานที่ปฏิบัติ พบว่าปัจจัย ส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีระดับความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมแตกต่างกันในทุกปัจจัย และ (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ ควรจัด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามัคคีภายในองค์การ ควรจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพของพนักงานภายในองค์การ ควรมีการแจ้งข่าวสารให้ชัดเจนและทั่วถึงทุกคน ควรกระจายอำนาจลงสู่ ระดับปฏิบัติการให้มีอำนาจในการตัดสินใจ ควรเพิ่มนโยบายส่งเสริมสวัสดิการให้แก่พนักงานมากขึ้น และควรเพิ่มนโยบายส่งเสริมความผูกพันในองค์การให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท ซีพีดี ครีเอชั่น จำกัดth_TH
dc.title.alternativeOrganizational engagement of employee of CPD CREATION Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to examine the level of employee’s engagement in the organization of CPD CREATION Company Limited; (2) to compare organizational engagement of CPD CREATION Company Limited employees classified according to personal factors; and (3) to suggest how to strengthen the organizational engagement of CPD CREATION Company Limited employees. The population used for this survey study was all 135 employees of CPD CREATION Company Limited’s. The research instrument was the questionnaire. The statistical procedures for data analysis were frequency, percentage, population mean, and standard deviation. The results of this study found that: (1) The employees exhibit a high level of engagement in the organization; (2) The organizational engagement of employees differed on the personal factors of gender, age, nationality, marital status, education, working duration, position and aspects of work by conducting inferential statistics and it was found that there were differences in levels of the organizational engagement based on all variously factors; and (3) The suggestions to increase engagement in the organization include; unity should be strengthened within the organization, the quality of training of the employees should be improved, messages of information should be relayed to every employee clearly and thoroughly, the authorization to make decisions should be decentralized to the operational level, the policy of welfare promotion should be offered to employees increasingly, and engagement in the organization should be encouraged.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151902.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons