Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorประภัสสร นาวเหนียว, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:20:36Z-
dc.date.available2022-08-23T08:20:36Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผล การบริหารความปลอดภัยใน ระบบบริการพยาบาลของพยาบาทวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชน (2) ระดับความปลอดภัยของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลชุมชน และ(3 ) ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผล การบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาล และระดับความปลอดภัยของผู้ป่วย ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 230 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของโรงทยาบาล เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น การ บริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาล และความปลอดภัยของผู้ป่วย เท่ากับ 0.98 และ 0.92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ เพียธ์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิผลของการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาลของ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณารายขั้นตอนของการบริหารความ ปลอดภัย พบว่าการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร การสนับสนุนการรายงานอุบัติการณ์ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากบทเรียนของความปลอดภัย และการบูรณาการกิจกรรมบริหารความเสี่ยง อยู่ในระดับสูง ขั้นตอนการนำแนวทางการแก้ไขปัญหาไปใช้ ในการป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย การนำและสนับสนุนการ ทำงานที่ปลอดภัยของบุคลากรพยาบาล และการสื่อสารให้ผู้ป่วยบริการและชุมชนมีส่วนร่วมในระบบความ ปลอดภัย อยู่ในระดับปานกลาง (2) ความปลอดภัยของผู้ป่วย โดยภาพรวมอยู่ในระคับสูง เมื่อพิจารณาระคับ ความปลอดภัยรายด้านพบว่าทุกด้านได้แก่ การติดเชื้อจากการดูแลรักษา การระบุตัวผู้ป่วย การใช้ยา และการ สื่อสาร อยู่ในระดับสูงเช่นกัน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการ พยาบาล กับระดับความปลอดภัยของผู้ป่วย ด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางทุกขั้นตอน (r - .326-.437) ด้านการใช้ยามีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำทุกขั้นตอน (r - .192 -.279) และด้านการระบุตัวมี ความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำทุกขั้นตอน (r- .160 -.274) อย่างมีนัยสัาคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ,.05 ด้านการ ติดเชื้อจากการดูแลรักษาไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาลทุก ขั้นตอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.format.extent[ก]-ฎ, 140 แผ่น-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.subjectความปลอดภัยth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาลกับความปลอดภัยของผู้ป่วย ในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeRelationships between effectiveness of safety management in nursing care delivery system and patient safety at Community Hospitals in Nakhon Sawan provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์-
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (I) to investigate the effectiveness of management in nursing care delivery system (2) to study the level of patient safety, and (3) to explore the relationship between the effectiveness of safety management in nursing care delivery and patient safety in community hospitals in Nakhon Sawan provinve. The subjects were 230 nurses. They were selected based on hospital size by stratified random sampling. Questionnaires were used as research tools. They consisted of two parts: management in nursing care delivery system and patient safety. The Cronbach Alpha reliability coefficients of those two parts were 0.98 and 0.92 respectively. The statistical devices employed in the study were descriptive statistics (including frequency, percentage, and standard deviation) and Pearson’s Correlation Coefficient The findings were as follows. 1) Nurses rated four effectiveness factors of safety management in nursing care deliver)' system at the high level. These factors were(3) creating safety culture in the organization (b) encouraging to write incidental report (c) exchanging safety experiences, and (d) improving of risk management activities. Four factors were rated at average level. They were: (a) application process of problem solving to prevent injury or damage to patients, (b) provide safe work places and support nurses to work safely finally, (c)communicate and encourage patients and communities to participate in the safety system. 2) Nurses rated patient safety factors at the high level. These factors were type: (a) patients were not infected by treatment (b) patient were identified correctly, (c) medication usage was efficient, and (d)communication was effective. 3) There were significantly positive correlations between the effectiveness of safety management in nursing care delivery system and patient safety (p < .01 and .05). These factors were communication (r= .326 to .437), medication usage (r = .192 to .274), and patient identification (r = .160 to .274). However, there was no correlation between infection by treatment and the effectiveness of management in nursing care delivery systemen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102155.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons