Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทรายทอง เกตุพลอย, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-22T02:11:49Z-
dc.date.available2023-09-22T02:11:49Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9684-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสังคมในการจัดการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนภัทรญาณวิทยา จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - ปีที่ 6 จำนวน 299 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ในโรงเรียนภัทรญาณ วิทยา จังหวัดนครปฐม ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นการใช้สื่อสังคมในการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าการใช้สื่อสังคมในการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน ได้แก่ (1) ด้านประเภทการใช้สื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้ คือ สื่อสังคมประเภทเฟซบุ๊ก (2) ด้านวัตถุประสงค์การใช้สื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้ คือ การรับทราบข่าวสารเพื่อรับทราบผลการเรียน (3) ด้านวิธีการใช้สื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้ คือ การใช้สื่อสังคมชั้นสรุปทบทวนเนื้อหาให้ชัดเจน (4) ด้านประโยชน์ของสื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้ คือ เป็นช่องทางในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเดิมจากในห้องเรียน (5) ด้านการประเมินการใช้สื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน คือ การประเมินด้านทักษะการปฏิบัติงานจากการทำกิจกรรม และ (6) ด้านปัญหาการใช้สื่อสังคมเพื่อการจัดการเรียนรู้ คือ ขาดทักษะในการใช้ ปรแกรมบราวเซอร์เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้สื่อสังคมในการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนภัทรญาณวิทยา จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeThe use of social media in learning management for secondary education level students of Phattrayan Wittaya School in Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study opinions toward the use of social media in learning management for secondary education level students of Phattrayan Wittaya School in Nakhon Pathom province. The research sample consisted of 299 Mathayom Suksa I - VI students studying in the first semester of the 2019 academic year at Phattrayan Wittaya School in Nakhon Pathom province, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the use of social media in learning management for secondary education level students. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall use of social media in learning management for the students was rated at the high level. When specific aspects of the use were considered, it was found that all aspects were rated at the high level. The specific aspects, each of which with the item receiving the top rating mean, were specified as follows: (1) in the aspect of types of social media being used in learning management, the item on Facebook social media; (2) in the aspect of objectives for using social media in learning management, that on the objective for receiving information concerning learning outcomes; (3) in the aspect of methods of using social media in learning management, that on the use of social media in the instructional step of conclusion and review of the learned contents for more clarity; (4) in the aspect of benefits of using social media in learning management, that on being the channel for searching for knowledge in addition to the one learned in the classroom; (5) in the aspect of the evaluation of using social media in learning management, that on the use for evaluation of work performance skills as results of doing learning activities; and (6) in the aspect of problems of using social media in learning management, that on the lack of skills in using the browser program for connecting with the Internet networks.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161607.pdf13.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons