Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรุณี เปราะนาค-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T03:38:56Z-
dc.date.available2023-09-25T03:38:56Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9718-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ประเมินการใช้ปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อม ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการปฏิบัติระหว่างดำเนินการ และด้านผลผลิตของระบบ e-LAAS ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรค ในการใช้งาน ของระบบ e-LAAS ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ (3) เปรียบเทียบการประเมินการใช้โปรแกรม ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ e-LAAS และ ปัญหาและอุปสรรค จำแนกตามตำแหน่งงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ระบบ e-LAAS ในการบันทึกบัญชีคอมพิวเตอร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1,508 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถาม ใช้สถิติพรรณนา ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ค่าสถิติเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินปัจจัยทั้งสี่ด้าน โดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อย ได้แก่ ปัจจัยพื้นฐานสภาพแวดล้อมปัจจัยด้านผลผลิต ปัจจัยนำเข้า และปัจจัยด้านกระบวนการ (2) ผู้ตอบ แบบสอบถาม ประเมินปัญหาและอุปสรรคจากการใช้โปรแกรม e-LAAS ในเรื่องผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญของการมี ระบบ e-LAAS ในการบริหารงานเป็นอันดับแรกรองลงมาคือ หน่วยงานไม่มีการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และสถานที่ สำหรับการนำระบบ e-LAAS มาใช้งาน และอันดับสุดท้าย มีด้วยกันทั้งหมด 3 ด้าน ได้แก่ หน่วยงานไม่มีคู่มือการใช้ งาน ในระบบ e-LAAS หน่วยงานไม่สามารถติดตาม และนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้งานได้ทันที และรายงานที่ได้รับจาก ระบบ e-LAAS ไม่สามารถสนับสนุน การตัดสินใจที่กำลังทำขณะนั้นได้ (3) ตำแหน่งงานที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อ การประเมินการใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ e-LAAS และปัญหา และอุปสรรคขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ประเมิน.--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการประเมินการใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ e-LAAS ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeUse of e-LAAS accounting software by local administrative organizations in Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to evaluate e-LAAS software’s basic environmental factors, input factors, operational factors, and productivity factors at local administrative organizations in Chiang Mai Province; ( 2 ) to study problems in using e-LAAS software at local administrative organizations in Chiang Mai; and (3) to compare the perceptions about e-LAAS software among personnel at different work positions. This study was a survey research. The study population was 1,508 users of local administrative organizations in Chiang Mai Province who used e-LAAS software for computer accounting work. The sample population, determined by using the Taro Yamane method, was 400 samples, who were chosen through simple random sampling. Data the statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, and f test. The results showed that ( 1) the respondents ranked the factors of e-LAAS software in the following order: basic environmental factors (mean score = 3.43), followed by productivity factors ( mean score = 3.42) , input factors ( mean score = 3.33) and operational process factors (mean score = 3.17). (2) The main problem that the respondents had with using e-LAAS in their workplace was that the administrators did not see the importance of using e-LAAS (mean score = 2.98). The second most important perceived problem was that their work unit did not provide the necessary space, equipment or materials for using e-LAAS (mean score = 2.88). Lastly, the 3 other problems were all ranked the same (mean score = 2.74): the work unit did not have an e-LAAS handbook, the work unit could not monitor and input data for immediate use, and the e-LAAS-generated reports could not support decision making for the issues in the meantime. (3) No correlation was found between the personnel’s work position and their evaluation of e-LAAS or their perceptions of the problems associated with implementing e-LAASen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148088.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons