Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัมพวรรณ หนูพระอินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T06:28:20Z-
dc.date.available2023-09-25T06:28:20Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9730-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการของ บุคลากรฝ่ายสนับสนุน (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนจำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัญหาการให้บริการของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนในสำนักงานคณบดี คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประชากรที่ศึกษา แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ นักศึกษาและบุคลากรสายวิชาการ ที่เข้ามาใช้บริการ ในสำนักงานคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนรวม 5,038 คน โดยกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา จำนวน 370 คน ได้จากการคำนวณตามวิธีของทาโร่ ยามาเน่ และกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสายวิชาการ จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) การให้บริการของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนในสำนักงานคณบดี คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตามความคิดเห็นของนักศึกษา ในภาพรวมอยู่ ในระดับดี และเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบวา ทุกด้านอยู่ ในระดับดี โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยได้ ดังนี้คือ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของระบบการให้บริการ ด้านความเสมอภาค และด้านผลของ การให้บริการ ตามล าดับ แต่ในกลุ่มบุคลากรสายวิชาการมีความเห็นวา บุคลากรฝ่ ายสนับสนุนมีจ านวนน้อยไม ่ ่ เพียงพอต่อการให้บริ การ (2) นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการให้บริ การใน ภาพรวมไม่แตกต่างกนอย ั างมีนัยส าคัญที่ระดับ ่ 0.05 และ (3) ปัญหาส าคัญที่พบได้แก่ ผู้รับบริการยังมีความไม่มันใจ ่ ในความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากการให้บริการ และวิธีการให้บริการยังไม่คล่องตัวเท่าที่ควร ข้อเสนอแนะควรกระตุ้นให้บุคลากรเข้าอบรมเพื่อพัฒนางานที่ปฏิบัติ พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกบงานของตน ั และควรมีระบบการให้บริการแบบครบวงจร ณ จุดบริการเดียวเบ็ดเสร็จth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. สำนักงานคณบดีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนในสำนักงานคณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeOpinions on services of support staff in the Dean Office of Humanities and Social Sciences Faculty, Suratthani Rajabhat Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study were1)to study opinions towards services of support staff; 2) to compare these opinions of support staff’s services regarding personal factors; and 3) to study problems about the services of support staff in the dean office of Humanities and Social Sciences Faculty in SuratthaniRajabhat University. The study population consisted of 5,038 academic staff and students using the services of support staff in the dean office of Humanities and Social Sciences Faculty. The number of sample from Taro Yamane’s formula was 370 students and 22 academic staff. Questionnaires and interview were used to collect data. Statistics used in data analysis included percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance. The finding showed that 1) overall, the opinions towards services of support staff in the dean office of Humanities and Social Sciences Faculty in SuratthaniRajabhat University was at the good level. Considering each criterion, all criteria were at the good level. The mean of these criteriaordered from the highest mean to the lowest mean was service providers, efficiency of service system, equality, and results of services, respectively. Academic staff thought the number of support staff was insufficient to provide services. 2)Students with different personal factors had similar opinions about overall services at the significance level of 0.05; and 3) The main problems were that service recipients were not confident if the information received from service providers is correct and service approaches were not dexterous.The recommendations were that support staff should be encouraged to take training to improve their duties and develop research relating to their work. Moreover, there should be one stop service systemen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148394.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons