Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิน พันธ์ุพินิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญธรรม จิตต์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปัญญา หิรัญรัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิศิษฐ์ ไฝจันทร์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T07:39:47Z-
dc.date.available2023-09-25T07:39:47Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9738-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพสังคม เศรษฐกิจ และสภาพการเลี้ยง ไหมของเกษตรกร (2) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงไหมของเกษตรกร (3) ความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และปัจจัยสนับสนุนอื่นกับการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 43.91ปี จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 มีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 4.11คน มีประสบการณ์การเลี้ยงไหม มามากกว่า 10 ปี ใช้แรงงานในครอบครัวเป็นหลัก เฉลี่ย 1.45 คน บางครอบครัวมีการใช้แรงงาน จากภายนอกมาเสริมในช่วงการเลี้ยงไหมวัย 5 และเก็บไหมสุก เกษตรกรใช้เงินทุนของตนเองร่วม กับเงินกจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เกษตรกรมีพืนที่ปลูกหม่อนเฉลี่ย ครอบครัวละ 12.01 ไร่แต่ไม่มีแหล่งนาที่จะใช้รดหม่อน มีโรงเสียงไหมขนาด 81.88 ตารางเมตร และเสียงไหม ปีละ 9.05 รุ่นโดยเลียงรุ่นละ 1-2 แผ่น (2) เกษตรกรยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงไหม ในระดับมาก (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับเทคโนโลยีการเลียงของเกษตรกร ได้แก่ ประสบการณ์ การเลียงไหม ขนาดของโรงเลี้ยงไหม และแหล่งเงินทุน ( 4 ) ปัญหาที่สำคัญของ เกษตรกรคือ เรื่องไหมเป็นโรคขาดแคลนแหล่งน้ำ แมลงวันลาย ทำลายหนอนไหม และการขาด แหล่งเงินทุน ดังนั้น จึงได้เสนอให้ หน่วยงานของรัฐ จัดฝึกอบรมเรื่องโรคไหม และศัตรูไหม สนับสนุนเงินทุน และจัดหาแหล่งนำให้เกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectไหม--การเลี้ยงth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีการเกษตร--ไทยth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทยth_TH
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงไหมของเกษตรกร ในจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeSericultural technology adoption by farmers in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76429.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons