Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/973
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รสลิน ศิริยะพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชนะศึก วิเศษชัย, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T08:43:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T08:43:18Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/973 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาจุดมุ่งหมายของการสื่อสารทางการเมืองของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยตีความจากเอกสารทางประวัติศาสตร์และ ผลงานทางวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์เจาะลึกผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์สองราย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การสื่อสารทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีจุดมุ่งหมาย คือ 1) การแสดงความชอบธรรมในฐานะกษัตริย์ของพระองค์ท่านโดยทรงสื่อสาร ให้เห็นถึงความชอบธรรมทางกฎหมาย คือทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการบรมราชาภิเษก ถูกต้องตามจารีตประเพณี และทรงเป็น “หน่อพระพุทธเจ้า” ผู้เป็นรัชทายาทตามกฎมณเฑียรบาล และทรงสื่อสารถึงความชอบธรรมทางการเมือง คือ ทรงได้รับการยอมรับจากผู้ใต้ปกครองทรงดำรง พระองค์ในฐานะองค์ธรรมราชา และทรงเป็นผู้ปกครองที่ผดุงความยุติธรรม 2) การแสดงแนว พระราชดำริทางการเมืองเกี่ยวกับสถานะของพระมหากษัตริย์โดยทรงสื่อสารให้เห็นแนวพระราชดำริเกี่ยวกับกษัตริย์ที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า กษัตริย์แบบธรรมราชา และกษัตริย์แบบบุคคล ธรรมดาสามัญ 3) การส่งเสริมเสรีภาพ โดยเฉพาะการส่งเสริมเสรีภาพของสตรี ในเรื่องของการเลือกคู่ครองของตนและสิทธิในชีวิต และการส่งเสริมเสรีภาพของประชาชนในการเข้าถึงผู้ปกครอง 4) การอบรมกล่อมเกลาทางการเมือง ทรงสื่อสารเพื่อให้ราษฎรยึดถือระบบการควบคุมทางสังคมแบบสังคมไพร่การสร้างชาตินิยม การสืบสานพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นสถาบันที่มีอิทธิพลทางสังคมและการเมืองการปกครอง เพื่อสืบทอดแนวคิดผู้ปกครองแบบผู้มีบุญ และอบรมกล่อมเกลาให้ราษฎรเป็นผู้มีเหตุผล 5) การสร้างธรรมาภิบาลในประเด็นเกี่ยวกับความโปร่งใส ความยุติธรรม หลักคุณธรรม หลักนิติรัฐ และ หลักการมีส่วนร่วม 6) การสร้างเสถียรภาพทางการเมือง โดยทรงสื่อสารให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพส่วนพระองค์ คุณลักษณะแห่งการประนีประนอมประสาน ประโยชน์ และประสิทธิภาพในการสื่อสารของพระองค์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.rights.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.321 | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, 2347-2411 | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารทางการเมือง -- ไทย | th_TH |
dc.title | การสื่อสารทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | th_TH |
dc.title.alternative | The political communications of King Mongku | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.321 | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the purposes of the political communications of King Mongkut This research is the qualitative research using interpretation and analytical methodologies considering relevant historical documents and studies. Moreover, the information gathered from 2 historical academics via the in-depth interviews has been integrated. The data were analyzed and reported using content analysis and presented through descriptive analysis According to the research, it was found that King Mongkut had politically communicated in; (1) Legitimacy as the king which was identified as being legally and politically legitimated: The Legally Legitimacy had been communicated by emphasizing his “Crown Prince” status as per Royal Law. Furthermore, the official king who already accessed to the throne via Rajapisek Ceremony which was considered as the most important process to legitimately get the governance right was also conveyed. While being politically legitimated had been communicated by presenting himself as the ruler having been elected and populated by the citizen, and projecting himself as the Dhamma Raja and the king who fairly preserved the justice to the people in the kingdom. (2) The views in king status had been communicated in 3 dimensions; God Related King, Buddha Raja King, and Ordinary People King. (3) The concerns on human rights had been initiated by supporting the women in choosing their own spouses and the right in their own lives, while the right of people in meeting the premier was also being encouraged. (4) The political socialization had been communicated to maintain the Siamese feudal society, to promote nationalism, to preserve Buddhism as the institute influencing the political norms, to preserve the ideology of “Merit Ruler King”, and to promote the rational society. (5) Good governance enhancement had been portrayed on the aspects of transparency, justice, morality, rule of law, and participation (6) The political stability was stabilized by projecting his personal talent, demonstrating compromising personality, managing and balancing of power and utilizing the effective communication skills | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รุ่งพงษ์ ชัยนาม | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib128389.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License