กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9740
ชื่อเรื่อง: ความพึงพอใจต่อการเลี้ยงไหมเพื่อจำหน่ายรังของเกษตรกร ในจังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Satisfaction in cocoon production for selling sericultural farmers in Kanchanaburi Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สิน พันธ์ุพินิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา
พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา
สันติ กลึงกลางดอน, 2503-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: ไหม--การเลี้ยง
เกษตรกร--ไทย
วันที่เผยแพร่: 2544
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มวัตถุประสงค์เพื่อรกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ระดับความพึงพอใจของเกษตรกร 3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจของเกษตรกร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยสรูปได้ว่า เกษตรกรส่วนมากเป็นชาย อายุเฉลี่ย 45.06 ปี จบประถมลึกษา มีสมาชิกในครอบครัว 4.23 คน มีแรงงานในครอบครัว 2.30 คน มีประสบการณ์การเลี้ยงไหม นาน 10.38 ปี ใช้เงินทุนของตนเองรวมกับการกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำหรับประกอบอาชีพ มีขนาดที่ดินสำหรับทำการเกษตร 18 ไร่ พื้นที่ปลูกหม่อน 14.01 ไร่ มีรายไต้จากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมในรอบปี เฉลี่ย 88,916 บาท เกษตรกรเพียงหนึ่งในสาม มีแหล่งนำสำหรับหม่อน และครึ่งหนึ่งมีโรงเลี้ยงไหมที่มั่นคงถาวร เกษตรกรรความพึงพอใจ ต่อการเลี้ยงไหมเพื่อจำหน่ายรังในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของเกษตรกร คือ เพศ ประสบการณ์การเลี้ยงไหม แหล่งเงินทุน แหล่งนาสำหรับหม่อน และโรงเลี้ยงไหม ปัญหาสำคัญของเกษตรกร คือ หนอนไหมเกิดโรคและขาดแคลนใบหม่อนในฤดูแล้ง ดังนั้น รัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพการเลี้ยงไหมเพื่อจำหน่ายรังอย่างจริงจัง
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9740
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
76432.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons