Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์th_TH
dc.contributor.authorชาญชัย สุทธะตั้งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T08:37:01Z-
dc.date.available2023-09-25T08:37:01Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9745en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา(1) การจัดบริการสาธารณะด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตขององค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง (2) ระดับประสิทธิผลในการจัดบริการสาธารณะด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตขององค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง (3) แนวทางในการเสริมสร้างประสิทธิผลในการจัดบริการสาธารณะ ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตขององค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในองค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 384 คน จากจำนวนประชากร 9,192 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การแจกแจงความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดบริการสาธารณะด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตตามแนวคิดในการจัดบริการสาธารณะทุกด้าน มีประสิทธิผลมากกว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งทุกด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านการให้บริการอย่างพอเพียงอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ด้านการให้บริการที่ตรงต่อเวลา ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและ ด้านการ ให้บริการอย่างก้าวหน้า ตามลำดับ (2) ระดับประสิทธิผลในการจัดบริการสาธารณะด้านงานส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตทุกงานมีประสิทธิผลมากกว่าร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ 0.05 ซึ่งทุกงานพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด โดยงานด้านสวัสดิการสังคม อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ งานด้านการศึกษา งานด้านสาธารณสุข และงานด้านการส่งเสริมอาชีพ ตามลำดับ (3) แนวทางในการเสริมสร้างประสิทธิผลได้แก่ ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาค ควรจัดทำแผนผังและคู่มือเกี่ยวกับมาตรฐานในการให้บริการ ด้านการให้บริการที่ตรงต่อเวลา ควรมีการทำคำรับรองการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการให้บริการที่ตรงต่อเวลา ด้านการให้บริการอย่างพอเพียง ควรเพิ่มอัตราตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ให้มากยิ่งขึ้น ด้านการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ควรเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์การให้บริการ หรือหยุดให้บริการให้ประชาชนทราบ ด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ควรนำรูปแบบการให้บริการแบบศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จมาใช้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง--การบริหารth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.subjectบริการสาธารณะ--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleประสิทธิผลในการจัดบริการสาธารณะด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลวังแดง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of public service management in the area of quality of life-promoting services for the people of Wang Daeng Subdistrict Administrative Organization, Tron District, Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were to study (1) public service management in the area of quality of life-promoting services, (2) the effectiveness levels of public service management in the area of quality of life-promoting services, and (3) guidelines to reinforce the effectiveness of public service management in the area of quality of life-promoting services of Wang Daeng Subdistrict Administrative Organization. The population were voters in the Wang Daeng Subdistrict Administrative Organization, Amphoe Tron, Uttaradit. Sample consisted of 384 from population of 9,192 and was selected through the stratified random sampling. Instruments were questionnaire. Statistical analysis employed were percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research results showed that (1) The management of quality of life promotion services, according to the concept of the management of all types of public services, had an effectiveness of more than 80% with a statistical significance of 0.05 in all aspects. Mean value was in high level. where ample services was in the highest level. Following that were the aspects of continuous services, timely services, equitable services, and progressive services respectively. (2) The level of effectiveness in the management of all types of quality of life promotion work was more than 80% with a statistical significance of 0.05. It was discovered that their mean values were among the highest levels. The aspect of social welfare had the highest levels followed by aspects of education, public health, and job promotion work respectively.(3) The guidelines for achieving effectiveness included equitable services, in which plans and manuals about service standards should be made. In terms of timely services, there should be performance commitments about timely services. Regards to ample services, there should be more staff member positions. About continuous services, customers should be informed whether there are additional services available or the cessation of service. Lastly, Organization progressive services should provide a service such as a one stop service.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148797.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons