Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9758
Title: การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์
Other Titles: Learning organization of Finance Bureau under the Treasury Department
Authors: ศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารยืที่ปรึกษา
นราทิวัฒณ์ รินลาด, 2524-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การเรียนรู้องค์การ
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2559
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกมาระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ (2 เรียบทียบการป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลังกรมธนารักษ์ ตามการรับรู้ของบุคลากร จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ บุคลากรสำนักการคลัง กรมธนารักษ์จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 71 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่เฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการศึกยาพบว่า (1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลังกรมธนารักษ์โดขรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณ ราขด้น พบว่ านการจัดการความรู้อยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมาอยู่ในระดับมากที่สุดคือ ต้านการสร้งพลวัดแห่งการเรียนรู้ ด้านการปรับเปลี่ยนองค์การ และอยู่ในระดับมากคือ ค้ำนการเอื้ออำนาจแก่บุคลากรและบุคคลภายนอก านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามลำดับ (2 บุคลากรที่มีลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่หน่วยงานที่สั่งกัดฝ่าย และระยะเวลาในการทำงาน มีการรับรู้การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ไม่แตกต่างกันทั้งโดยรวมและรายด้าน และ (3) แนวทางในการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ ในด้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ควรหาเทคโนโลยีที่ ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ต่งจังหวัดแบบทันเวลา เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในกรรับ-ส่งข้อมูล และด้านการเอื้ออำนาจแก่บุคลากรและบุคคลภายนอก คือ กวรสนับสนุนให้ทีมงาน หรือส่วนงานมีสิทธิเท่าเทียมกันในการมอบหมายงานในแต่ละครั้ง และส่งสริมให้บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ขององค์การ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9758
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154747.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons