Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารยืที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนราทิวัฒณ์ รินลาด, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T02:16:14Z-
dc.date.available2023-09-27T02:16:14Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9758en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกมาระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ (2 เรียบทียบการป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลังกรมธนารักษ์ ตามการรับรู้ของบุคลากร จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ บุคลากรสำนักการคลัง กรมธนารักษ์จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 71 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่เฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการศึกยาพบว่า (1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลังกรมธนารักษ์โดขรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณ ราขด้น พบว่ านการจัดการความรู้อยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมาอยู่ในระดับมากที่สุดคือ ต้านการสร้งพลวัดแห่งการเรียนรู้ ด้านการปรับเปลี่ยนองค์การ และอยู่ในระดับมากคือ ค้ำนการเอื้ออำนาจแก่บุคลากรและบุคคลภายนอก านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามลำดับ (2 บุคลากรที่มีลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่หน่วยงานที่สั่งกัดฝ่าย และระยะเวลาในการทำงาน มีการรับรู้การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ไม่แตกต่างกันทั้งโดยรวมและรายด้าน และ (3) แนวทางในการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์ ในด้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ควรหาเทคโนโลยีที่ ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ต่งจังหวัดแบบทันเวลา เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในกรรับ-ส่งข้อมูล และด้านการเอื้ออำนาจแก่บุคลากรและบุคคลภายนอก คือ กวรสนับสนุนให้ทีมงาน หรือส่วนงานมีสิทธิเท่าเทียมกันในการมอบหมายงานในแต่ละครั้ง และส่งสริมให้บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ขององค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักการคลัง กรมธนารักษ์th_TH
dc.title.alternativeLearning organization of Finance Bureau under the Treasury Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the learning organization level of Finance Bureau under the Treasury Department; (2) to compare the perception on learning organization of Finance Bureau by personal characteristics; and (3) to suggest guidelines for improving learning organization of Finance Bureau. This study was a survey research. The population was 85 personnel of Finance Bureau under the Treasury Department and 71 of them were randomized by stratified random sampling. A questionnaire was used to collect data. Statistical tools were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The results showed that (1 )the learning organization level of Finance Bureau under the Treasury Department was at the highest level. Considering by aspect, it was found that knowledge management was at the highest level and followed by the dynamics of learning, organizational change, empowerment and use of information technology, respectively; (2) personnel with different gender, age, educational level, position, section and duration of work had no different perception on learning organization of Finance Bureau; and (3) the guidelines for improving learning organization of Finance Bureau on the use of information technology aspect were using new technology continuously and using information technology for coordination with other sections in provincial, followed by promoting the learning participation and fair assignment on the empowerment aspecten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154747.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons