Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณฐปณีย์ เวียงสิมา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T02:57:04Z-
dc.date.available2023-09-27T02:57:04Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9761-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพึงพอใจของผู้เสียภาษีเงิน ได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ตของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2 (2) ปัญหาในการให้บริการ การยื่นแบบภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ตของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2 (3) แนวทางในการปรับปรุงระบบงานภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ตของสำนักงาน สรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2 ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2 จำนวน 439 ราย กลุ่มตัวอย่าง 209 รายคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาเป็นผู้สร้างขึ้น สถิติที่นำมาใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) ความพึงพอใจของผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่าน อินเทอร์เน็ตของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2 ในภาพรวมอยู่ระดับมาก โดยด้านการให้บริการที่ คุ้มค่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการให้บริการที่ตรงตามความต้องการ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต มีปัญหามากที่สุดในประเด็น ไม่สามารถพิมพ์ใบเสร็จได้ทันทีหลัง การชำระภาษี รองลงมาคือ กรณีแบบที่ไม่มีการชำระภาษี เมื่อทำการยื่นแบบไปแล้วไม่สามารถแก้ไข ข้อมูลได้ และปัญหาการต้องเสียค่าธรรมเนียมในการชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต (3) ข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุงระบบงานภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ตที่สำคัญได้แก่ กรมสรรพากรควร กำหนดให้สามารถใช้หมายเลขอ้างอิงการชำระเงินภาษีจากธนาคารแทนใบเสร็จรับเงินได้โดยไม่ต้องพิมพ์ ใบเสร็จ ควรเก็บข้อมูลไว้บนระบบ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถทำการแก้ไขข้อมูลได้ภายในระยะเวลา การยื่นแบบ ควรยกเลิกค่าธรรมเนียมในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต นอกเหนือไปจากนั้น ควรจัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ตแก่ผู้ประกอบการ และ ควรปรับปรุงระบบให้มีความทันสมัยอยู่เสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2th_TH
dc.subjectการชำระบัญชีth_TH
dc.subjectผู้เสียภาษี--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในบริการรับชำระภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 2th_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of the tax payer on corporate income tax payment service via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study:(1) the satisfaction of tax payers on corporate income tax payment services via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Office (2) the problems in corporate income tax payment services via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Office (3) recommendations to improve corporate income tax payment services via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Office. Population consisted of 439 tax payers who paid income tax via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Office, from which 209 samples were obtained using Yamane calculation. Accidental random sampling method was applied. Instrument used was questionnaire constructed by the researcher. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The study revealed the followings: (1) the satisfaction of tax payers on corporate income tax payment services via internet at Chon Buri Area 2 Revenue Office in the overall view was at high level, with the highest mean on value of service and the lowest mean on service responsiveness (2) the problems were: the system inability to print out the receipt at the completion time of tax payment, the tax payers were not allowed to correct the information after the form submission, the collection of fee on internet payment (3) major recommendations were: the system should assign Bank reference number for the payment instead of issuing a receipt, information should be kept in the system so the tax payers could be able to correct the information at submission time, fee on internet payment should be excepted, moreover, training on tax payment via internet should be provided to entrepreneurs, and the system should be constantly improved and kept modern at all timesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148810.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons