Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorปวริศร ทิมาสาร, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T04:02:11Z-
dc.date.available2023-09-27T04:02:11Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9770en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบการหมุนเวียนงานของนักรังสีการแพทย์ แผนกรังสีวินิจฉัย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี และ (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานระหว่างการหมุนเวียนงานแบบเต็มรูปแบบกับแบบแบ่งกลุ่มย่อย ของนักรังสีการแพทย์ แผนกรังสีวินิจฉัย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โตยใช้กลุ่มตัวอย่างจากการคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญแผนกรังสีวินิจฉัย โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 9 ท่าน ด้วยวิธีการใช้ตารางของ โทมัส แมคมิลแลน และเก็บข้อมูลด้วยเทคนิคเคลฟาย ผลการศึกษาพบว่า (1) รูปแบบการหมุนเวียนงานของนักรังสีการแพทย์แบบแบ่งกลุ่มย่อย เป็นการหมุนเวียนงานเป็นแบบมีนักรังสีการแพทย์ที่มีประสบการณ์สูงในแต่ละห้องประจำห้องของตนเอง (ไม่ต้องหมุนเวียนงาน) ห้องละ 1 คน นักรังสีการแพทย์ที่มีประสบการณ์ปานกลาง หมุนเวียนงานเฉพาะห้องที่ทำงานในลักษณะเดียวกัน (เช่น หมุนเวียนงานเฉพาะ General x-ray เท่านั้น) และนักรังสีการแพทย์ที่มีประสบการณ์น้อยหมุนเวียนงานในกลุ่มงานของตน และ (2) การหมุนเวียนงานแบบแบ่งกลุ่มย่อยมีประสิทธิภาพในการทำงานมากกว่าการหมุนเวียนงานแบบเต็มรูปแบบ ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการทั่วไปในห้องตรวจ/รักษาทางรังสีด้านความชำนาญในการใช้งานเครื่องมือทางรังสีวินิจฉัยในแต่ละห้องตรวจ/รักษาทางรังสี ด้านการให้บริการผู้ป่วยในแต่ละห้องตรวจรักษาทางรังสี ด้านการสื่อสารและการประสานงาน และด้านความพึงพอใจของนักรังสีการแพทย์ในการหมุนเวียนงาน ตามลำดับ ส่วนข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานจากการหมุนเวียนงานแบบแบ่งกลุ่มย่อยได้ คือ ควรจัดประชุมหรืออบรมทุกเดือนเพื่อแลกเปลี่ยนและเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับการตรวจในแต่ละห้อง ควรเพิ่มระยะเวลาในการหมุนเวียนงานห้องตรวจ/รักษาทางรังสีที่มีหัตถการซับซ้อนมากกว่าห้องอื่นๆ ควรเพิ่มเกณฑ์ความชำนาญนอกเหนือจากประสบการณ์เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการจัดตารางการหมุนเวียนงาน ควรเพิ่มค่ตอบแทนความชำนาญแก่นักรังสีการแพทย์ และสำหรับผู้บรรจุเข้ามาใหม่ควรจัดให้มีการหมุนเวียนงานทุกห้องตรวจ/รักษาทางรังสีด้วย เพื่อจะได้เรียนรู้และเข้าใจกระบวนการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสนุกกับการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการหมุนเวียนงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานระหว่างการหมุนเวียนงานแบบเต็มรูปแบบกับแบบแบ่งกลุ่มย่อยของนักรังสีการแพทย์ แผนกรังสีวินิจฉัย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีth_TH
dc.title.alternativeComparison work efficiency between full functional and subset functional job rotation of radiologic technologist in Diagnostic Radiology Department at the Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to: (1) Study about the format of job rotation in radiologic technologist, Diagnostic Radiology Department at The Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital; and (2) Comparison Performance between Full Functional and Subset Functional Job Rotation of Radiologic Technologist in Diagnostic Radiology Department at The Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital. This research Comparison Performance between Full Functional and Subset Functional Job Rotation of Radiologic Technologist in Diagnostic Radiology Department at The Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital. And population is 34 radiologic technologists. The study will be selected the sample of 9 experts radiologic technologists in the research group using the Macmillan method. The data were collected by using the Delphi Technique. Research findings were as follows: (1) the format of subset functional job rotation in radiologic technologist have 1 high experience radiologic technologist in our room (do not rotate), medium experience radiologic technologists rotate in a room that works in the same way (such as rotate only in general x-ray), and low experience or newbie radiologic technologists rotate all rooms; and (2) the subset functional job rotation is more efficient than the full functional job rotation in all 5 areas: General management in diagnostic/ treatment rooms, the expertise to use diagnostic radiological machine in diagnostic/treatment rooms, the service of patients in diagnostic/treatment rooms, the communication and coordination and the satisfaction of radiologic technologist in the job rotation. The subset functional job rotation can be enhanced, such as meeting or training every month to exchange and increase knowledge of work. Expand time of job rotation in the room with more complicated procedures than other rooms. Increase proficiency criteria in addition to job experience for use to manage a schedule of job rotation and consider about compensation. If a radiologic technologist is added it should be every rooms. To be able to learn the job and understand the operation in every room and make more friends. The new radiologic technologist can adapt and enjoy the work too.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154738.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons