Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพันทิวา ชีวะวงค์, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T02:07:48Z-
dc.date.available2023-09-28T02:07:48Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9776-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้ราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินวิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ ข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินทั้งหมด จำนวน 2,883 คน คำนวณตามสูตรของ ทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 352 คน ใช้วิธี การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยเก็บตัวอย่างข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ในระดับชำนาญการและปฏิบัติการได้จำนวน 363 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ การทคสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานการตรวจเงิน-แผ่นดิน ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาราชค้านพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานค้านความภูมิใจในองค์กรที่มีคุณค่าทางสังคม มีคำเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านลักษณะการบริหารและค้านความสมดุลระหว่างชีวิตทำงานและชีวิตส่วนตัว มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (2) ข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่มีปัจจัขส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตำแหน่งงานปัจจุบัน แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0ร ส่วนข้าราชการ ที่มีประสบการณ์ในการทำงานแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะ ควรมีการพิจารณาปริมาณงานที่รับผิดชอบในแต่ละส่วนงานอย่างเหมาะสมให้เกิดความสมดุลทั้งชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวและมีการจัดสรรเครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอต่อการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน--ข้าราชการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life of official at Office of the Auditor General of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study level of working life quality of official at Office of the Auditor General of Thailand; (2) to compare working life quality of official at Office of the Auditor General of Thailand classified by personal factors; and (3) to recommend approaches in developing quality of official working at Office of the Auditor General of Thailand. This study was a survey research. Population was the Office of the Auditor General of Thailand which are 2,883 official working in provincial. And 352 people are sample obtained by Taro Yamane. Samples of are 363 Government Officials in Professional and Practitioner Level by using Simple sampling method. Online questionnaire is used as a tool. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-Test, F-Test, one-way analysis of variance, Scheffe’s test. The results revealed that: (1) an overview of quality of working life of official at Office of the Auditor General was at medium level. Considered each aspect, it was found that Pride in a socially valuable organization was at the highest level, followed by Management Features, and The balance between work and personal life was least average; (2) official at Office of the Auditor General who were different in personal factors such as gender, age, marital status, educational background, salary and position would be different in quality of working life at statistical significance level of 0.05. Personnel who has different in working period, would not be different in quality of working life; and (3) Recommendations were to consider appropriate amount of work to balance with daily life and also organize sufficient office supplies to process the tasken_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153825.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons