Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมัสยา บุญมี, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T02:33:33Z-
dc.date.available2023-09-28T02:33:33Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9782en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ประกันตน สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนม (2) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ประกันตน สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนรพนม และ (3) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ประกันตน สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะการใช้บริการการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้ประกันตนที่มาใช้บริการ ณ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนม เฉลี่ยเดือนละ 1,453 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 314 คน ซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามฝ่ายงาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพบริการตามความคาดหวังและคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้ประกันตนสำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยผู้ประกันตนคาดหวังมากที่สุด และมีการรับรู้มากที่สุดในค้านความเป็นรูปธรรมในการห้บริการ (2) คุณภาพบริการตามความคาดหวังกับคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้ประกันตนสำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนม โดยรวมแตกต่างกัน ส่วนรายด้านที่แตกต่างกันคือ ด้านความเป็นรูปธรรมในการให้บริการ และค้านความน่าเชื่อถือ โดยมีระดับความคาดหวังสูงกว่าการรับรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ผู้ประกันตนสำนักงานประกันสังคมจังหวัคนครพนมที่มีปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะการใช้บริการแตกต่างกัน มีความคาดหวังต่อคุณภาพบริการแดกต่างกัน ยกเว้นเพศและช่วงเวลาที่ใช้บริการที่ไม่แตกต่าง ส่วนผู้ประกันตนที่มีปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะการใช้บริการแตกต่างกันมีการรับรู้ต่อคุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0 ยกเว้นเพศที่ไม่แตกต่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนม--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectความคาดหวัง (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ประกันตนสำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeService quality as expected and perceived by insured person at Social Security Office, Nakhonphanom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were: (1) to study service quality level of insured persons’ expectation and perception at Nakhonphanom Social Security Office; (2) to compare service quality with insured persons’ expectation and perception at Nakhonphanom Social Security Office; and (3) to compare service quality with insured persons’ expectation and perception at Nakhonphanom Social Security Office by personal factors and service characteristics. The study was a survey research. The population was 1,453 insured persons who received service from Nakhonphanom Social Security Office per month and 314 of them were randomized by stratified random sampling. The data was collected by a questionnaire and was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA and least significance different test. The results showed that: (1) overall service quality level of insured persons’ expectation and perception at Nakhonphanom Social Security Office were at the highest level in terms of tangible services; (2) overall quality of service as expected and perceived by insured person was significantly different. For each aspect, the expectation of tangible service and its reliability was higher than the perception at 0.05 statistical significance; and (3) insured persons at Nakhonphanom Social Security Office with different personal factors and service characteristics expected of service quality differently except gender and service time. While insured persons with different personal factors except gender and service characteristics perceived service quality differently at 0.05 statistical significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153527.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons