Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9795
Title: | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ลุ่มน้ำคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา |
Other Titles: | Factors relating to public participation in forest resource management of U Tapao Canal Basin in Songkhla province |
Authors: | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา ดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา นพวรรณ เสวตานนท์, 2500- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ ประชาชน--ไทย--สงขลา การจัดการทรัพยากรป่าไม้--ไทย--สงขลา--การมีส่วนร่วมของประชาชน |
Issue Date: | 2546 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในพื้นที่สุ่มนี้าคลองอู่ ตะเภา จังหวัดสงขลา 2) การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของประชาชน 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ และ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อท้าประโยชน์ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น การได้รับการฝึกอบรม และ ผลประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว และระดับ 0.05 คือ อาชีพ และการได้รับความรู้ด้านการอบุรักน์ ทรัพยากรป่าไม้ สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในขั้นตอนต่าง ๆ พบว่า 1) ขั้นตอนการ ตัดสินใจ ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และการได้รับการฝึกอบรมความรู้ด้านป่าไท้ ที่ระดับ 0.05 คือ จำนวนสมาชิกใน ครัวเรือน การได้รับความรู้ด้านการอนุรักน์ ประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว 2) ขั้นตอนการเข้าร่วม กิจกรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ส่วนรวม ในการพัฒนาท้องถิ่น และการได้รับการฝึกอบรม และที่ระดับ 0.05 คือ อาชีพ และประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อ ครอบครัว 3) ขั้นตอนการร่วมรับผลประโยชน์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ จำนวน ประโยชน์ที่ได้รับจากทรัพยากรป่าไม้ และประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว ที่ระดับ 0.05 คือ การเข้าร่วม กลุ่มทำกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และขนาดพื้นที่ถือครอง 4) ขั้นตอนการควบคุม ติดตามประเมินผล ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และจำนวนประโยชน์ที่ได้รับจากทรัพยากรป่าไม้ในปัจจุบัน ที่ระดับ 0.05 คือ ประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว |
Description: | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9795 |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License