Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสรี รังษีธรรมปัญญา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T08:18:36Z-
dc.date.available2023-09-28T08:18:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9797-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงาน ระดับปฏิบัติการในแผนกสาวเส้นไหมและย้อมเส้นด้าย บริษัทอุตสาหกรรมไหมไทย จํากัด (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการในแผนกสาวเส้นไหมและย้อมเส้นด้าย บริษัท อุตสาหกรรมไหมไทย จํากัด จําแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานระดับ ปฏิบัติการในแผนกสาวเส้นไหมและย้อมเส้นด้าย จํานวนทั้งหมด 136 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จํานวน 101คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมันเท่ากัน 0.968 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบ ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสําคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการในแผนกสาว เส้นไหมและย้อมเส้นด้าย โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่อยู่ใน ระดับมากที่สุดคือด้านประชาธิปไตยในองค์การ รองลงมาคือด้านบูรการทางสังคม ด้านสภาพการทํางาน ที่คํานึงถึงความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย ด้านโอกาสในการพัฒนาความรู้ความสามารถ ด้านลักษณะ งานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ด้านความมั่นคงและ ความก้าวหน้าในงาน และค่าเฉลี่ยคุณภาพชีวิตการทํางานที่อยู่ในระดับน้อยที่สุด คือด้านความสมดุล ระหว่างกับชีวิตส่วนตัว งานตามลําดับ (2) พนักงานระดับปฏิบัติการในแผนกสาวเส้นไหมและย้อม เส้นด้าย ที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทํางานไม่ แตกต่างกัน ส่วนพนักงาน ที่มีระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาการทํางาน และตําแหน่งงานแตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิต การทํางานแตกต่างกัน อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ.th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการแผนกสาวเส้นไหมและย้อมเส้นด้าย บริษัท อุตสาหกรรมไหมไทย จำกัดth_TH
dc.title.alternativeThe quality of work life of employees at silk and yarn dyeing Thai Silk Companyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the employees work life quality at Silk Reeling and Yarn Dyeing Department, Thai Silk Company; (2) to compare work life quality of employees at Silk Reeling and Yarn Dyeing Department, Thai Silk Company classified by personal characteristics. This study was a survey research. The number of population was a total of 136 staffs at Silk Reeling and Yarn Dyeing. The sample size of 101 respondents calculated by Yamane formula and distributed by proportional stratified random sampling. A Likert scale questionnaire was used in data collection with reliability value of 0.968. Descriptive and inferential statistics were used for data analysis which included percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA. The results were listed as follow: (1) the overall of work life quality of staff at Silk Reeling and Yarn Dyeing was at the moderate level. Classifying by aspect from the highest to the least were employee rights, social integration, safe and healthy working conditions, opportunity for developing and utilizing human capacity, social relevance of work life, adequate and fair compensation, opportunity for continued growth and security and work and total life space; (2) the staff at Silk Reeling and Yarn Dyeing with respect to different gender, age, and marriage status, it appeared that there was no statistical significant differences at 0.05 on work life quality with the exception of education, income, working experiences which revealed significant differenceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150928.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons