Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลักษณา ศิริวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชนัดดา ศรีรุ้ง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T02:24:55Z-
dc.date.available2023-09-29T02:24:55Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9805-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการบริ หารยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) 2) วิเคราะห์ปัญหาของกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ ของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) 3) เสนอแนวทางพัฒนาการ บริหารยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และ กลุ่มผู้รับผิดชอบการดําเนินงานตามกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) โดยสุ่มแบบเจาะจง จํานวน 25 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมี โครงสร้าง และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) มี 4 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก การวางแผนยุทธศาสตร์ การนําแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ และการประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ 2) ปัญหาของกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหน่วยงาน พบว่า บุคลากรมีความรู้และข้อมูลในการวิเคราะห์ ไม่เพียงพอ วิเคราะห์จากความรู้สึกมากกว่าข้อเท็จจริง (2) การวางแผนยุทธศาสตร์ พบว่า การดําเนินงานตามตัวชี้วัดที่ เป็นลักษณะของเจ้าภาพร่วมไม่ได้มีการวางแผนการส่งต่อภาระในแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจน หน่วยงานเปลี่ยนผู้จัดทํา แผนบ่อย ผู้ที่เข้าประชุมแผนมักไม่ใช่ผู้ปฏิบัติคํานิยามตัวชี้วัดไม่ชัดเจน (3) การนําแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ พบว่า บุคลากรบางส่วนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ ไม่มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ไปสู่การปฏิบัติใน ส่วนที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารบางส่วนไม่เห็นถึงความสําคัญของการนํายุทธศาสตร์ไปใช้ (4) การประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ พบว่า มีความล่าช้าและไม่มีการนําผลมาปรับปรุง 3) แนวทางพัฒนาการบริหารยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหน่วยงาน ควรวิเคราะห์จากข้อเท็จจริง (2) การวางแผนยุทธศาสตร์ ควรกำหนดให้ หน่วยงานที่ปฏิบัติงานโดยตรงเป็นเจ้าภาพหลักในการรับผิดชอบตัวชี้วัด ควรกำหนดผู้จัดทําแผนไว้อย่างน้อยคนละ 5 ปี และต้องเป็นผู้ที่เข้าประชุมแผนทุกครั้ง ควรกำหนดตัวชี้วัดให้เป็นไปตามหลักวิชาการ ได้มาตรฐานที่สามารถวัดผลสําเร็จ ได้ รวมทั้งเข้าใจง่ายและปฏิบัติได้ และควรสร้างขึ้นจากสภาพที่เป็นจริงของหน่วยงาน (3) การนําแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ควรอบรมการบริหารยุทธศาสตร์ทุกขั้นตอนแก่บุคลากรทุกระดับอย่างน้อยปี ละ 1-2 ครั้ง ถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ไปสู่ การปฏิบัติให้มากขึ้น ผู้บริหารระดับสูงควรแสดงออกด้วยการสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ซึ่งรวมทั้งประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานอย่างชัดเจน และเป็นตัวอย่างที่ดีในการสนับสนุนการบริหาร ยุทธศาสตร์อย่างจริงจังและต่อเนื่อง (4) การประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ ควรเร็วขึ้นและหน่วยงานควรนําผลการ ประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ในปีต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชระยะ 5 ปี (พ.ศ.2556-2560)th_TH
dc.title.alternativeThe 5-year strategic management of Sukhothai Thammathirat Open University (2013-2017)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to 1) study the strategic management process of the 5-year strategic plan (2013-2017) of Sukhothai Thammathirat Open University; 2) analyze strategic management process problems of the 5-year strategic plan (2013-2017) of Sukhothai Thammathirat Open University; 3) propose strategic management development direction for Sukhothai Thammathirat Open University. This study was a qualitative research. The sample consisted of 25 administrators and people who responsible to perform the strategic management of the 5-year strategic plan of Sukhothai Thammathirat Open University (2013-2017), obtained by purposive sampling. The instrument used was structured interview and data were analyzed using content analysis. The study revealed that 1) the strategic management process of the 5-year strategic plan (2013-2017) of Sukhothai Thammathirat Open University consisted of 4 steps namely, inside and outside environmental analysis, strategic planning, strategic implementation, and strategic evaluation; 2) problems were (1) environmental analysis found that staff have insufficient knowledge and data to perform an analysis, in addition, made an emotional analysis than logical analysis; (2) the strategic planning found thatperformances that have the shared indicators did not have any clear plans to pass on the task in each office, changing of staff who responsible is too often, the staff who attend the planning meeting are not the strategic planner, and the indicator definitions are not clear; (3) the strategic implementation found that some staff are lack of strategic knowledge and loss of communication to convey the indicators to relevant performance, and some administrators ignored an important of the implementation ; (4) the strategic evaluation found that there is a delay and the office did not bring the result to develop the plan; 3) the development directions of the strategic management are(1) environmental analysis should perform under the basis for truth (2) the strategic planning should assign the direct concerned office to be a main host who responsible for the task specified by the indicators, the office should assign the staff to responsible for strategic planning at least 5 years, as well asattending every meeting, moreover, should define the theoretical and standardized indicators that easy to understand, practical and possible to evaluate the success, in addition, the indicators should base on the context of the office; (3) the strategic implementation should provide a training on all strategic management process to all staff levels at least 1-2 times a year, and convey the indicators to more practice, moreover the administrators should support the strategic management continuously and obviously, and announce the clear strategic plan, also being a role model in supporting the strategic management continuously and obviously; (4) the strategic evaluation should perform quicker and the office should apply the result into the next year strategic plan developmenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150946.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons