Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชญาภา ศิริวรรณ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T03:30:12Z-
dc.date.available2023-09-29T03:30:12Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9808-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องการประเมินผลการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อําเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ของอําเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคของการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในอําเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ (3) เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรในการวิจัย ได้แก่ สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่เคยได้รับบริการเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรือเคยเข้าร่วมกิจกรรมกองทุนพัฒนาบทบาท จํานวน ทั้งสิ้น 692 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างจํานวน 254 คน จากการคํานวณตามสูตรของทาโร ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่ม ตัวอย่าง แบบอย่างง่าย และใช้แบบประเมินที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามกรอบแบบประเมินผลดุลยภาพ วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณ ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยการแจกแจงความถี่ คํานวณค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) การดําเนินงานด้านการเงิน อยู่ในระดับปานกลาง การดําเนินงานด้านสมาชิก ผู้รับบริการ อยู่ในระดับมาก การดําเนินงานด้านกระบวนการดําเนินงาน อยู่ในระดับปานกลางและการดําเนินงานด้าน การพัฒนาและการเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัญหาในการดําเนินงาน ด้านการเงิน คือ ไม่มีงบประมาณในการ บริหารจัดการกองทุน ปัญหาด้านสมาชิกผู้รับบริการ คือ สมาชิกผู้รับบริการเห็นว่าการ อนุมัติเงินโครงการล่าช้า ปัญหา ด้านกระบวนการดําเนินงาน คือ สมาชิกขาดการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของกองทุนพัฒนา บทบาทสตรี และปัญหาด้านการพัฒนาและการเรียนรู้ คือ ที่ทําการกองทุนหรือศูนย์กลางการจัดกิจกรรมฝึกอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก อยูห่างไกลจากหมู่บ้านของสมาชิก (3) ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนากองทุนพัฒนา บทบาทสตรี คือควรมีการจัดสรรผลกำไรให้กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล เพื่อเป็นงบประมาณในการบริหารจัดการ กองทุน ฯ ลดขั้นตอนการดําเนินงานให้มีความสะดวกและรวดเร็ว กำหนดให้มีตัวแทนสมาชิกจากทุกหมู่บ้านร่วมเป็น คณะกรรมการกองทุนฯ และให้มีส่วนร่วมในการดําเนินงานกองทุนฯทุกขั้นตอน และควรจัดให้มีศูนย์ข้อมูลกองทุน หรือศูนย์กลางการจัดกิจกรรมกองทุนระดับหมู่บ้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี--การประเมินth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of thai women empowerment funds in Omkoi District, Chiangmai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study entitled Evaluation of Women Role Empowerment Fund Operation in Omkoi District, Chiangmai Province aimed to (1) evaluate the overall operation of Women Role Empowerment Fund in Omkoi District, Chiangmai Province (2) study problems and obstacles of the operation of Women Role Empowerment Fund in Omkoi District, Chiangmai Province and (3) recommend guidelines of problem solving and develop the operation of Women Role Empowerment Fund. This study was a survey research. Population included of 692 members of Women Role Empowerment Fund who used loan service from the said Fund or participated in activities organized by Women Role Empowerment Fund. Sample size was 254 samples calculated by using Taro Yamane Formula. Sampling method used simple random sampling. Research tool was an evaluation form which was created according to balanced scorecard principles. Quantitative data analysis was conducted with descriptive statistics by distributing frequency and calculating statistics of percentage, mean and standard deviation. The result was found that (1) financial operation was at moderate level while user service operation was at high level, whereas action process operation and development and learning was at moderate level. (2) problems in each aspect it was revealed that it did not have budget for fund financial operation management. In term of user service operation, it was found that the project approval was delayed. For operational process it was found that participation of members toward the Fund implementation was limited. Lastly, for learning and growth operation, it was found that the Fund offices or training and knowledge exchanging centers were quite remote from members’ residences. (3) The recommendation and guidelines of developing Women Role Empowerment Funds included that there should be profit allocation for sub-district Women Role Empowerment Funds as management funding. Besides, operational procedures should be reduced so that they could be performed more conveniently and quickly. Representatives from every village should be appointed as fund committee and to be part in every process of funds’ operation. In addition, the fund information unit or the center for arranging activities should be provided in village level so as to cover all areas in supervisionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151348.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons