Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9817
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดล จอมประชา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T06:54:04Z-
dc.date.available2023-09-29T06:54:04Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9817-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคาดหวังของประชาชนต่อประสิทธิผล โครงการ (2) ระดับประสิทธิผลโครงการ (3) ความสัมพันธ์ระหว่าง ความคาดหวังของประชาชนกับ ประสิทธิผล โครงการและ (4) ปัญหาและเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินการโครงการบรรเทาอุทกภัยอําเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) จังหวัดสงขลา สํานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 11 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ ประชากรที่อยู่ในแนวพื้นที่ก่อสร้าง ประตูระบายนํ้าหน้าควน ตําบลหาดใหญ่ และตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จํานวน 400 คน ขนาด กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 200 ตัวอย่าง คํานวณจากการใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่าง โดยจําแนกตามพื้นที่และ แบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.95 และค่าความเชื่อมั่นได้ เท่ากับ 0.895 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิง อนุมาน คือ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพ ใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคาดหวังของประชาชนต่อประสิทธิผลโครงการโดยภาพรวมอยู่ ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความสามารถในการระบายนํ้าได้เพิ่มขึ้น อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ความสามารถในการแก้ปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ได้ (2) ประสิทธิผลโครงการ โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลลัพธ์อยู่ ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านความคุ้มค่ากับการใช้ ทรัพยากรประเภทต่างๆ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของประชาชน กับประสิทธิผลโครงการ พบว่า มี ความสัมพันธ์กันเชิงบวกในระดับสูง (r = .727) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะ พบว่า 1) ด้านการบริหารจัดการ มีปัญหาเกี่ยวกับที่ดิน ข้อเสนอแนะคือ 1) ด้านการบริหารจัดการ มี ปัญหาเกี่ยวกับที่ดิน ข้อ เสนอแนะคือ ควรจัดให้มีการประชุมหารือ เพื่อหาข้อสรุปในการชี้แนวเขตที่ดิน 2) ด้าน การมีส่วนร่วม มีปัญหาเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ข้อเสนอแนะคือ ควรประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการใน พื้นที่ให้มากขึ้น 3) ด้านผลกระทบจากการดําเนินการ มีปัญหาคือ 3.1) การไร้ที่อยู่อาศัย ที่ทํากิน ข้อเสนอแนะคือ ควรจัดให้มีการประชุมชี้แจงให้ประชาชนทราบเกี่ยวกับข้อกําหนดเงินเวนคืนต่างๆ 3.2) ปัญหาการจราจร ข้อเสนอแนะคือ ควรมีการแจ้งเตือน ป้ายเตือน จัดหาอุปกรณ์ป้องกันต่างๆ และ 3.3) ปัญหาด้านการระบายนํ้า ข้อเสนอแนะคือ ควรเร่งดําเนินการก่อสร้าง และจัดหาเครื่องสูบนํ้าเพื่อช่วยเร่งในการระบายนํ้าให้ทันเวลาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) จังหวัดสงขลา สำนักงานก่อสร้าง ชลประทานขนาดใหญ่ที่ 11th_TH
dc.subjectการบรรเทาสาธารณภัย--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectอุทกภัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคาดหวังของประชาชนต่อประสิทธิผลโครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) จังหวัดสงขลา สำนักงานก่อสร้าง ชลประทานขนาดใหญ่ที่ 11th_TH
dc.title.alternativeThe expectations of people for effectiveness on Hat Yai Flood Mitigation projects (phase II) Large Size Irrigation Structure Office 11, Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study level of expectations of people for effectiveness of the projects; (2) study level of project effectiveness; (3) study the relationship between expectations of people and effectiveness of the projects; and (4) study problems and suggest guidelines for flood mitigation projects implementation of construction project for large scale irrigation 11 at Hat Yai Flood Mitigation Projects (Phase II), Songkhla Province. This study was a quantitative research. Population was 400 people living along Na Khuan floodgate construction area, Hat Yai Sub-district and Khuan Lang Sub-district, Hat Yai District, Songkhla Province. Samples was 200 people determined by using Taro Yamane formula, area cluster sampling and accidental sampling techniques. Research tool was a questionnaire with content validity index at 0.95 and reliability at 0.89. The data were analyzed by using descriptive statistics such as percentage, mean and standard deviation and inferential statistics such as Pearson correlation coefficient. The qualitative data were analyzed by content analysis. The research findings were as follows: (1) an overall image of people’s expectations level toward the effectiveness of the projects was at moderate level. Considering each aspect, it was found that water drainage capacity was improved at high level, followed by capability of solving flooding problems in the area. (2) An overall image of the effectiveness of the projects was at high level. Considering each aspect, it was found that outcome of the projects revealed at high level, followed by resource utilization efficiency. (3) The relationship between the expectations of people and effectiveness of the projects revealed a significant positive correlation (r = .727), statistically significant at .05. (4) this study indicated the problems as follows; 1) land management problems which could be solved by convening conferences on cadastral survey; 2) participation problems caused by the lack of public relations activities which could be solved by publicizing the projects in the community; 3) operating impacts of the projects revealed some problems, including 3.1) vagrancy and land problems which could be solved by organizing meetings to provide the community with the information on surrender value regulations; 3.2) traffic problems which could be solved by having notifications, road traffic signs and some protective equipment; and 3.3) drainage problems which could be solved by accelerating the construction and providing water pump to facilitate water drainageen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151518.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons