Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุชาติ ทองรอด, 2495--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T07:53:39Z-
dc.date.available2023-09-29T07:53:39Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9821-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนคุณภาพของเกษตรกร (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยี การผลิตทุเรียนคุณภาพของเกษตรกร และ (4) ปัญหาอุปสรรคของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในการผลิตทุเรียนคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชายมีอายุเฉลี่ย 44.5 ปี จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา มีประสบการณ์ทำสวนทุเรียน 11.23 ปี มีพื้นที่ปลูกทุเรียนเฉลี่ย 12.68 ไร่ มีประสบการณ์ในการ ทำสวนทุเรียนทวาย 1.89ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีสมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 4.08 คน มีจำนวนแรงงานในการ ทำสวนทุเรียนเฉลี่ย 2.1 คน มีการจ้างแรงงานประจำเฉลี่ย 1.45 คน มีการจ้างแรงงานตามฤดูกาลเฉลี่ย 1.54 คน มีรายได้จากการประกอบอาชีพในภาคการเกษตรเฉลี่ย 222,853.33 บาท มีรายได้จากการประกอบอาชีพ นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 13,960.50 บาท มีรายได้เฉพาะสวนทุเรียน เฉลี่ย 175,096.50 บาท ส่วนใหญ่กู้เงิน จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 24.96 ไร่ เป็นพื้นที่ของ ตนเองเฉลี่ย 23.68 ไร่ พื้นที่เช่าผู้อื่นโดยเฉลี่ย 0.41 ไร่ พื้นที่ให้ผู้อื่นเช่าเฉลี่ย 0.19 ไร่ พื้นที่ปลูกทุเรียนทั้ง หมดโดยเฉลี่ย 13.93 ไร่ พื้นที่ปลูกทุเรียนที่ให้ผลผลิตแล้วเฉลี่ย 10.75 ไร่ พื้นที่ปลูกทุเรียนที่ยังไม่ให้ผล ผลิตเฉลี่ย 3.16 ไร่ ต้นทุนการผลิตทุเรียนต่อไร่ ต่อปีเฉลี่ย 5,457.18 บาท เกษตรกรมีการยอมรับเทคโนโลยี การผลิตทุเรียนคุณภาพในระดับมาก เกษตรกรมีปัญหาในด้านตลาดรับซื้อและราคาผลผลิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนคุณภาพ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการผลิตทุเรียนคุณภาพประสบการณ์ การทำสวนทุเรียน และระยะเวลาการเป็นสมาชิกกลุ่มปรับปรูงคุณภาพทุเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.232-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectทุเรียน--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนคุณภาพของเกษตรกรจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting in adoption of durian production technology by farmers in Chumphon provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.232-
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83635.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons