Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรอนงค์ ยิ้มละมัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T08:35:17Z-
dc.date.available2023-09-29T08:35:17Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9825-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่ซื้อ เครื่องสําอางสมุนไพรไทย (2) ระดับความสําคัญของส่วนประสมการตลาดต่อพฤติกรรมการซื้อ เครื่องสําอางสมุนไพรไทย (3) พฤติกรรมการซื้อเครื่องสําอางสมุนไพรไทย ของผู้บริโภคในอําเภอ เขาชะเมา จังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้เป็ นการศึกษาวิจัยเชิงสํารวจ ประชากร คือ ผู้ที่เคยซื้อเครื่องสําอาง สมุนไพรไทย สุ่มตัวอย่างแบบโควตา จํานวน 200 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวม ข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาระดับมัธยมต้น หรือตํ่ากว่า อาชีพเป็น พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน รายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท สมาชิกในครอบครัวจํานวน 4-6 คน (2) ระดับ ความสําคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสําอางสมุนไพรไทย ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ในภาพรวม อยู่ในระดับ สําคัญมาก (3) พฤติกรรมการซื้อเครื่องสําอางสมุนไพรไทย มีวัตถุประสงค์การใช้เครื่องสําอาง สมุนไพรเนื่องจากรู้สึกปลอดภัยจากสารเคมี ส่วนใหญ่ซื้อเครื่องสําอางสมุนไพรสําหรับผิวหน้า สถานที่ซื้อคือซูเปอร์มาร์เก็ตหรือร้านค้าใกล้บ้าน ซื้อเครื่องสําอางสมุนไพร 1-2 ครั้ง/เดือน โดยตรา สินค้าที่ผู้บริโภคใช้เป็นประจํา คือ ตราดอกบัวคู่ สูตรเครื่องสําอางที่ผู้บริโภคเลือกซื้อ คือสูตรผิว ขาว/ใส โดยเป็นเครื่องสําอางที่ผลิตในประเทศ การซื้อเครื่องสําอาง จะตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง ซื้อเครื่องสําอางขนาดกลาง 30 มล. โดยจะใช้งบประมาณในการซื้อครั้งละ 501 –1,000 บาทth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องสำอางสมุนไพร--การจัดซื้อth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางสมุนไพรไทยของผู้บริโภคในอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeConsumer purchase behavior of Thai Herbal Cosmetics in Amphoe Khao Chamao Rayong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: (1) to study the characteristic of the consumers who buy Thai herbal cosmetics; (2) to study the priority of importance of component marketing that has an impact on the behaviors of buying Thai herbal cosmetics; and (3) to study the Consumer Purchase Behavior of Thai Herbal Cosmetics in Amphoe Khao Chamao Rayong Province This research is population survey research that are consumers who buy Thai herbal cosmetics by specific sampling of 200 cases. The method used in this research is questionnaire that gathers descriptive analyzed information such as frequency, percentage, means and standard deviation. The research result is found that (1) The characteristic of sampling group mostly are married female with secondary school education or lower. Their occupation are staffs/private company staffs with monthly income between 10,001- 20,000.- Baht, 4-6 family members. (2) The level of importance of component marketing towards the behaviors of buying Thai herbal cosmetics in terms of products, price, sales, marketing promotion. For overall picture, it is in the very important level. (3) The behaviors of buying Thai herbal cosmetics. Their objective of using Thai herbal cosmetics is to feel safe from chemicals. The Thai herbal cosmetics are mostly bought for face. The place for buying is supermarket or shops nearby the house. The herbal cosmetics are bought 1-2 times per month. The brand the consumers regular used is Twin Lotus brand. The formula the consumers buy is whitening/clear and it is made in the country. The consumers buy the cosmetics by their own decision. It is 30 ml medium size cosmetic and the budget of each buy is from 501-1,000.- Bahten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151738.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons