กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9827
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รุจ ศิริสัญลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ธีระพงษ์ พุทธรักษา, 2499- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-02T02:03:18Z | - |
dc.date.available | 2023-10-02T02:03:18Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9827 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้จัดทำ แปลงขยายพันธุ์ข้าวในจังหวัดลพบุรีและจังหวัดชัยนาท (2) เปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวของเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีและจังหวัดชัยนาท (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีและจังหวัดชัยนาท ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรทผลิตเมลัดพันธุ์ข้าวจังหวัดลพบุรี และจังหวัดชัยนาท มีอายุเฉลี่ย 49.06 และ 47 ปี มีประสบการณ์ในการทำนาเฉลี่ย 28.47 และ 27.71 ปี จำนวนแรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 2.27 และ 2.42คน มีรายได้จากการจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 188,951 และ 302,953.7บาท การได้รับการติดต่อจาก พนักงานตรวจแปลงขยายพันธุ์เฉลี่ย4.51และ7.03ครั้งต่อฤดูการผลิตแหล่งน้ำที่ใช้จัดทำแปลงขยายพันธุ์ใช้น้ำชลประทาน และนํ้าบาดาล ส่วนใหญ่เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. (2) เกษตรกรทั้งสองจังหวัดมีการยอมรับเทคโนโลยีการ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวในเชิงความคิดเห็นระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งในภาพรวม แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.5 มีการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไปปฏิบัติในระดับมากและแตกต่างอย่างไม่ มีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ปัญหาสำคัญในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรทั้งสองจังหวัด คือ ขาดความรู้ใน การป้องกันกำจัดโรคและแมลง ขาดเครื่องเกี่ยวนวดข้าว ขาดลานตากข้าว และขาดสถานที่เก็บรักษาข้าวเพื่อรอ จำหน่าย ดังนั้น เกษตรกรเสนอแนะให้ศูนย์ฯ จัดการอบรมเกี่ยวกับการป้องกันกำจัดโรคและแมลง รวมทั้งรับซื้อ เมล็ดพันธุ์ข้าวความชื้นสูงจากเกษตรกรหลังจากการเกี่ยวนวด และนำเข้ามาลดความชื้นภายในศูนย์ฯ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.133 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--ลพบุรี | th_TH |
dc.subject | ข้าว--เมล็ดพันธุ์--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสม | th_TH |
dc.title | การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรผู้จัดทำแปลงขยายพันธุ์ของศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์พืชที่ 5 จังหวัดลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Adoption of rice seed production technology by contracted seed producers of Lopburi Seed Center | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.133 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Agri-Theses |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License