Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/985
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล หนิมพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | ฐิตินันท์ วัชรกุน- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T03:55:51Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T03:55:51Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/985 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย (1) เพื่อศึกษาปัจจัยของอาสาสมัครองค์การเอกชนในการตรวจสอบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 (2) เพื่อศึกษาบทบาทการดำเนินงานของอาสาสมัครองค์การเอกชนในการตรวจสอบการเลือกตั้งสมาขิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 (3) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทการดำเนินงานของอาสาสมัครองค์การเอกชนในการตรวจสอบการเลือกตั้ง สมาขิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 จำแนกตามปัจจัยของอาสาสมัครองค์การเอกชนและ (4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของอาสาสมัครองค์การเอกชนในการตรวจสอบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อาสาสมัครองค์การเอกชน ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 383 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิต ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทำการวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) อาสาสมัครขององค์การเอกชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26-35 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ประกอบอาชีพรับจ้าง / ลูกจ้างเอกชน ปฎิบัติหน้าที่อาสาสังเกตการณ์การเลือกตั้ง 2) อาสาสมัครขององค์การเอกชนมีบทบาทการดำเนินงานการตรวจสอบการเลือกตั้งอยู่ในระดับมาก 2 ด้าน คือด้านการสังเกตการณ์การเลือกตั้ง และด้านการรับแจ้งเหตุ และอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน คือ ด้านการสำรวจค่าใช้จ่าย 3) ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า อาสาสมัครองค์การเอกชนที่มีพื้นที่รับผิดชอบในการตรวจสอบการเลือกตั้งต่างก้นมีบทบาทการดำเนินงานในการตรวจสอบการเลือกตั้งสมาขิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 แตกต่างก้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ เวลาในการปฏิบัติงานมีน้อย อาสาสมัครมีความเความสามารถและไหวพริบน้อย ใช้ระบบการสรรหาแบบส่วนตัวขาดงบประมาณสนับสนุนกิจกรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.305 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร -- การเลือกตั้ง -- กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | การตรวจสอบการเลือกตั้ง | th_TH |
dc.title | บทบาทการดำเนินงานของอาสาสมัครองค์การเอกชนในการตรวจสอบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร : กรณีศึกษาการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 | th_TH |
dc.title.alternative | The operational roles of the NGO's volunteers in inspecting the election of members of the house of representatives : a case study of the election in Bangkok and its Vicinity on February 6th 2005 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.305 | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study factors of the NGO’s volunteers in inspecting the election of members of the House of Representatives on February 6th 2005; (2) to study the operational roles of the NGO’s volunteers in inspecting the election of members of the House of Representatives on February 6th 2005; (3) to compare the operational roles of the NGO’s volunteers in inspecting the election of members of the House of Representatives on February 6th 2005 in terms of their factors; and (4) to study the problems of and obstacles to the operation of the NGO’s volunteers. The sample of this research consisted of 383 volunteers of the NGO in Bangkok and its vicinity - Pathum Thani, Nonthaburi and Samut Prakan. A questionnaire was used as a research instrument. Data were analyzed by means of statistics, percentages, means, standard deviation, t-tests, variance analysis and content analysis. The findings were that (1) most of the NGO’s volunteers were females, aged 26-35 with secondary education, working as laborers or employees. They took charge of being the observing volunteers in the election; (2) the NGO’s volunteers had the roles in inspecting the election at a high level in two aspects: observing and receiving information about the election, and the roles in checking the expenses at ล moderate level; (3) the results of the hypothesis showed that the NGO’s volunteers with different assigned areas had different operational roles in inspecting the election of members of the House of Representatives on February 6th 2005 at a significant level of 0.05; and 4) the problems and obstacles were that there was little time to work; the NGO’s volunteers were underqualified and unskillful; the process of personal selection was used; and there was not enough funding to support electoral activities | en_US |
dc.contributor.coadvisor | บุญศรี พรหมมาพันธุ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib99054.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License