Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสลิน ศิริยะพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorฑิฆัมพร ค่ายหนองสวง, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T04:04:18Z-
dc.date.available2022-08-25T04:04:18Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/986-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) รูปแบบของพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของช้าราชการทหาร สังกัดกองพลทหารช่าง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของข้าราชการทหาร สังกัดกองพลทหารช่าง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรีกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นายทหารชั้นสัญญาบัตร นายทหารชั้นประทวน และ พลทหารกองประจำการ สังกัดกองพลทหารช่าง จำนวน 341 นาย เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบของพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของข้าราชการทหารสังกัดกองพลทหารช่าง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี คือ มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยให้ความสนใจติดตามข่าวสารทางการเมือง และการเลึอกตั้งในระดับปานกลาง และมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยการเป็นสมาชิกและสนับสนุนกลุ่ม องค์กรทางการเมือง และการให้คำวิพากษ์วิจารณ์ต่อการดำเนินงานของพรรคการเมืองในระดับน้อย (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง คือ (2.1) ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองด้านการให้ความสนใจติดตามข่าวสารทางการเมืองได้แก่ ปัจจัยด้านอายุ ชั้นยศ จำนวนปีที่รับราชการ ความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยด้านสิทธิ หน้าที่และกิจกรรมทางการเมือง วัฒนธรรมองค์กรทหารด้านกฎระเบียบ วินัยทหาร และระบบอาวุโส (2.2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองด้านการเลือกตั้งได้แก่ปัจจัยด้านชั้นยศ ความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยด้านสิทธิ และกิจกรรมทางการเมือง วัฒนธรรมองค์กรทหารด้านระบบอาวุโส (2.3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองด้านการเป็นสมาชิกและการสนับสนุนกลุ่ม องค์กรทางการเมืองได้แก่ปัจจัยด้านอายุ การศึกษา ชั้นยศ จำนวนปีที่รับราชการ ความรู้ความเข้าใจใน ระบอบประชาธิปไตยด้านสิทธิ หน้าที่ และกิจกรรมทางการเมือง วัฒนธรรมองค์กรทหารด้านกฎระเบียบ วินัยทหาร (2.4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองด้านการให้คำวิพากษ์วิจารณ์ ต่อการดำเนินงานของพรรคการเมืองได้แก่ปัจจัยด้านอายุ ชั้นยศ จำนวนปีที่รับราชการ ความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยด้านหน้าที่ และกิจกรรมทางการเมืองวัฒนธรรมองค์กรทหารด้านระบบอาวุโส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.subjectทหาร -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของข้าราชการทหาร สังกัดกองพลทหารช่าง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativePolitical participation behavior of the Royal Thai Army Officers in Engineer Division, Muang District, Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the political participation behavior of the Royal Thai Army offices in Engineer Division, Muang District, Ratchaburi Province, and (2) factors that were related to that behavior. The sample population consisted of 341 military personnel, consisting of enlisted soldiers, noncommissioned officers and officers. Data were collected using a questionnaire and analyzed using percentages, standard deviation and chi square. The results showed that (1) the Royal Thai Army Officers in Engineer Division, Muang District, Ratchaburi Province showed a medium level of political participation in the form of following political news and participating in elections but showed a low level of participation in the form of being members of or supporting political organizations and critiquing the work of political parties. (2) The following factors were related to political participation: (2.1) age; rank; years of service; understanding of rights, responsibilities and political activities under the democratic system; and the rules, regulations, discipline and seniority system of the military organizational culture were factors related to participation in following political news. (2.2) rank; understanding of rights and political activities under the democratic system; and the seniority system of the military organizational culture were factors related to participation in elections. (2.3) age; education; rank; years of service; understanding of rights, responsibilities and political activities under the democratic system; and the rules, regulations, and discipline of the military organizational culture were factors related to participation in the form of being members of or supporting political organizations. (2.4) age; rank; years of service; understanding of responsibilities and political activities under the democratic system; and the seniority system of the military organizational culture were factors related to participation in critiquing the work of political parties. All the above relationships were statistically significant at the level of P>0.05.en_US
dc.contributor.coadvisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorฐปนรรต พรหมอินทร์th_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118906.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons