Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชิด ดีเกิด, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T01:48:45Z-
dc.date.available2023-10-04T01:48:45Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9884-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้การผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสม 3) เจตคติและแรงจูงใจของเกษตรต่อการผลิตข้าวหอมมะลิ 4) การปฏิบัติตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสมร 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตข้าวตามเกษตรดีที่เหมาะสม จากการศึกษาถึงการผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรในอำเภอเกษตร วิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า เกษตรกรที่ผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสมมีความแตกต่างกับ เกษตรกรทั่วไป ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 คือ ด้านอาชีพรอง ต้านพื้นที่ถือครองทั้งหมด ด้านพื้นที่ตนเอง ด้านพื้นที่เช่า ด้านแรงจ้าง ต้านต้นทุนการผลิตข้าว ต้านรายได้ในครัวเรือนภาคเกษตร ต้านรายได้นอกภาค เกษตร ด้านรายได้ทั้งปี ด้านความรู้ในการผลิตข้าวหอมมะลิ ด้านการปฏิบัติตามเกษตรดีที่เหมาะสม ด้าน เจตคติและแรงจูงใจปัญหาของเกษตรกรที่ผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสม พบว่า มีปัญหาต้านขาดนํ้า เมื่อฝนทิ้งช่วง ด้านสารเคมีราคาแพง สำหรับเกษตรกรทั่วไป พบว่ามีปัญหาด้านสารเคมีราคาแพงและ ปัญหาต้านการบันทึกข้อมูล ข้อเสนฺอแนะของเกษตรกรที่ผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสมและเกษตรกรทั่วไป คือ รัฐควรนำข้อเสนอแนะของเกษตรกรมาวางแผนในการแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมการผลิต รัฐควร สนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย เร่งรัดหน่วยงานออกใบรับรองให้ตรงและทันเวลาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.82-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวหอมมะลิ--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ร้อยเอ็ดth_TH
dc.titleการผลิตข้าวหอมมะลิตามเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรในอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeHom Mali Rice production adhering to good agricultural practice by farmers in Kasetwisai District, Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.82-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105584.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons