Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9888
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอำพร ฝอยทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T02:23:18Z-
dc.date.available2023-10-04T02:23:18Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9888-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นของ องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรีและ (2) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้ปฏิบัติหน้าที่จัดเก็บ รายได้ ได้แก่ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล หัวหน้าส่วนการคลัง เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ จัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมืองราชบุรีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 68 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ปฏิบัติหน้าที่จัดเก็บรายได้ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดเก็บ ภาษีท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล ทั้ง 6 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากเมื่อพิจารณาตาม รายด้านพบว่า ด้านโครงสร้างภาษีด้านกระบวนการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น ด้านบุคลากร ด้านสถานที่และวัสดุ อุปกรณ์และด้านการตรวจสอบติดตาม อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ส่วนด้านกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับ อยู่ ในระดับเห็นด้วยปานกลาง และ (2) เห็นควรให้ปรับปรุงในแต่ละด้านดังนี้ด้านโครงสร้างภาษี รัฐบาล ควรปรับปรุงโครงสร้างภาษีให้เป็นระบบ เพื่อให้สามารถจัดเก็บได้ถูกต้องและเป็นธรรม ไม่มีความซ้ำซ้อน ในการปฏิบัติงาน ด้านกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ รัฐบาลควรเพิ่มมาตรการทางภาษีเกี่ยวกับบทลงโทษ สำหรับผู้ที่หลีกเลี่ยงภาษีให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง ด้านกระบวนการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น ควรมีการ จัดทำตารางการปฏิบัติงานแจ้งให้ประชาชนทราบล่วงหน้า ด้านบุคลากร ควรเพิ่มกรอบอัตรากำลังในส่วน บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บภาษีให้เพียงพอต่อการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีด้าน สถานที่และวัสดุ อุปกรณ์ ควรให้การสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการ และด้านการตรวจสอบติดตาม ควรมีการสรุปปัญหาในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นทุกปี แล้วนำข้อสรุป ดังกล่าวมาปรับปรุงและแก้ไขในการจัดทำแผนการปฏิบัติงานในปีถัดไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษี--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeLocal tax collection of Sub-district administration organizations in Muang Ratchaburi District, Ratchaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were: (1) to study the opinions about the local tax collection of sub-district administration organizations in Mueang Ratchaburi district, Ratchaburi province; and (2) to study problems, obstacles, and suggestions to be a guideline for developing the local tax collection of sub-district administration organizations in Mueang Ratchaburi district, Ratchaburi province. The study was a survey research. The population was the officials of sub-district administration organizations in Mueang Ratchaburi district who responded to the revenue collection such as the permanent secretary sub-district administration organization, the head of division of finance, the revenue collection officers, and the assistant revenue collection officers. The samples were 68 officials selected by using purposive sampling method. Questionnaires were used for data collection. The data was analyzed by using percentage, mean, and standard deviation. The results showed that: (1) overall the officials who responded to the revenue collection had the opinions about the local tax collection of sub-district administration organizations in six aspects at the high level. While considering each aspect, the tax structure, the local tax collection processes, personnel, places and equipment, and the monitoring aspects were at the moderate level; and (2) the government should adjust the tax structure system in order to collect tax accurately and fairly. The law and regulations should not be redundant; especially the penalties for tax evasion should be based on the present situation. People should be informed in advance about a timetable of local tax collection processes. The officials who responded to the revenue collection should be increased to enhance the tax collection efficiency. The places and equipment should be supported to facilitate the service. The annual summary of the local tax collection problems should be presented and used as a guideline for the preparation of the next action plansen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137343.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons