Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาวดี แย้มพราม, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T03:13:42Z-
dc.date.available2023-10-04T03:13:42Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9891-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจและปัจจัยอื่นๆ ของเกษตรกร (2) การยอมรับเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงของเกษตรกร (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงของ เกษตรกร (4) ปัญหาในการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 44.90 ปี สมรสแล้ว จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.93 คน สมาชิกในครัวเรือนที่ทำ การเกษตรเฉลี่ย 2.82 คน เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นอาชีพหลัก รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 67,240.26 บาท รายไต้นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 7,424.67 บาท เกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ แรงจูงใจในการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงของเกษตรกรในภาพรวมระดับมาก (2) เกษตรกรยอมรับเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงในระดับมาก (3) ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในเชิงความคิดเห็น ได้แก่ ระดับการศึกษาการเป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร สถานภาพการเป็นผู้นำ จำนวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพืนที่ถือครองทางการเกษตร แหล่ง ได้รับข้อมูลข่าวสาร แหล่งเงินทุน จำนวนพื้นที่ปลูกหอมแดง และแรงจูงใจในการใช้สารชีวภัณฑ์ (4) เกษตรกรมีปัญหาในการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงอยู่ในระดับน้อย ยกเว้นการเตรียม หัวพันธุ์เป็นปัญหาระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.134-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหอมแดง--การปลูก--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์ในการปลูกหอมแดงของเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeFactors relating to an adoption of bio-substance technology for growing red onions by farmers in Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.134-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109972.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons