Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/991
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorดำรงค์ชัย ชนาภัทรภณ, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T05:54:43Z-
dc.date.available2022-08-25T05:54:43Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/991-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบแนวคิดและบทบาททางการเมืองการปกครองของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์และประธานาธิบดีปัก จุง ฮี ในการพัฒนาภาคประชาชน การวิจัยนี้ใช้แนวทางวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการพรรณนาการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ โดยนำข้อมูลที่ศึกษาจากเอกสารมาวิเคราะห์ และใช้แนวคิดทางรัฐศาสตร์มาประกอบในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า สามปัจจัยที่มีผลต่อแนวคิดและบทบาททางการเมืองการปกครองของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และประธานาธิบดีปัก จุง ฮี ในการพัฒนาภาคประชาชน ปัจจัยแรกเป็นปัจจัยส่วนบุคคลคือ ภูมิหลังทางครอบครัว บุคลิกภาพ การศึกษาและการกล่อมเกลาทางการเมือง ปัจจัยที่สองคือ สถานการณ์ทางการเมือง ฐานอำนาจทางการเมืองและการยอมรับของประชาชน ส่วนปัจจัยสุดท้ายคือ ภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสต์ ความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกา และความช่วยเหลือของธนาคารโลก จากผลการวิเคราะห์แนวคิดและบทบาทของผู้นำ ทั้งสองในการพฒันาภาคประชาชนสามารถแยกเป็นประเด็นที่คล้ายคลึงและแตกต่าง ประเด็นที่คล้ายคลึงกันคือระบอบการปกครอง ทั้งสองประเทศมีระบอบการปกครองประชาธิปไตยเหมือนกัน แต่แท้จริงแล้ว ปกครองด้วยอำนาจเผด็จการโดยมีรัฐธรรมนูญรองรับความชอบธรรมในการปกครอง ส่วนความแตกต่างคือการพัฒนาภาคประชาชน สำหรับประเทศไทยการเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ พัฒนาอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด ในขณะที่ประเทศเกาหลีใต้้เน้นการพัฒนา อุตสาหกรรมและพัฒนาชนบทควบคู่กัน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคิดและพัฒนาชนบท ตนเองแต่ยงัอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล ซึ่งผลจากการปกครองที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ขาดการพัฒนาทางการเมือง ประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางการเมืองจึงนำมาซึ่งการเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักการเมืองth_TH
dc.subjectการเมืองเปรียบเทียบth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดและบทบาททางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์และประธานาธิบดีปัก จุง ฮี ในการพัฒนาภาคประชาชนth_TH
dc.title.alternativeThe comparative study of political concepts and roles between field Marshal Sarit Thanarat and President Park Chung-Hee in civil society developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to compare the political concepts and roles between Field Marshal Sarit Thanarat and President Park Chung-Hee in civil society development. This was a qualitative research based on documentary evidence and an interpretation of historical literature and political theories. Data were analyzed using descriptive analysis. The results show that there are three main sets of factors affecting these leaders’ political concepts and roles in civil society development. The first is the personal factors such as their family background, personality, education and political socialization. The second factors, considered as internal factors, are the political context during their life, the nature of political power and the degree and of public acceptance. Third, the external factors are threats from communism, the relationship with the United States of America and the degree of support from the World Bank. Following the identification of these factors their political concepts and roles can are compared and contrasted. The similarity between the two leaders is the form of government they established: for both, the form of government was ostensibly a democracy but was in fact a military dictatorship with the Constitution being used to legitimize their power and leadership. In contrast however, was their interest and involvement in civil development. Thus, the main purposes for development in Thailand were industry development and large scale economy only by the government, while in South Korea, the main purpose was urban and industrial development in which civilians could participate in creating and developing their towns but still under the government’s control. It is concluded that their degree of attention in economic developments without political development led to demands for changes from civil society.en_US
dc.contributor.coadvisorรุ่งพงษ์ ชัยนามth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib150211.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons