Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิกกา ศรีพายัพ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T03:21:32Z-
dc.date.available2023-10-16T03:21:32Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9933-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับศักยภาพทุนมนุษย์ของบุคลากรศาลใน สังกดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 (2) ศึกษาระดับสมรรถนะบุคคลของบุคลากรศาลในสังกัดสำนัก ศาลยุติธรรมประจำภาค 5 (3) เปรียบเทียบศักยภาพทุนมนุษย์ของบุคลากรศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรม ประจำภาค 5 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) เปรียบเทียบสมรรถนะบุคคลของบุคลากรศาลในสังกัด สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ บุคคลกับศักยภาพทุนมนุษย์ของบุคลากรศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นบุคลากรของศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 จำนวน 257 คน จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 717 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ค่าความแปรปรวนทางเดียวค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson และการทดสอบเป็นรายคู่ตามวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับศักยภาพทุนมนุษย์ของบุคลากรศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรม ประจำภาค 5 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยที่ด้านความผูกพันของพนักงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (2) ระดับสมรรถนะบุคคลของบุคลากรศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 โดยรวมและรายด้านอยู่ ในระดับมาก โดยที่อุปนิสัยหรือคุณลักษณะเฉพาะมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (3) เปรียบเทียบศักยภาพทุนมนุษย์ของ บุคลากรศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5 มีความแตกต่างตามปัจจัยส่วนบุคคลในด้านระดับ การศึกษาและหน่วยงานที่สังกัด (4) เปรียบเทียบระดับสมรรถนะบุคคลของบุคลากรศาลในสังกัดสำนัก ศาลยุติธรรมประจำภาค 5 พบความแตกต่างตามปัจจัยส่วนบุคคลในด้านระดับการศึกษา อายุการทำงาน ประเภทตำแหน่งและหน่วยงานที่สังกด (5) สมรรถนะบุคคลมีความสัมพันธ์กับศักยภาพทุนมนุษย์ใน ระดับปานกลาง ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5th_TH
dc.subjectทุนมนุษย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะบุคคลกับศักยภาพทุนมนุษย์กรณีศึกษาศาลในสังกัดสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 5th_TH
dc.title.alternativeRelationship of employee competency to human capital potential : a case study of the courts of justice, Region Vth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the potential of human capital levels of employees at the Courts of Justice, Region V; (2) to study the competency levels of employees at the Courts of Justice, Region V; (3) to compare the human capital potential of employees at the Courts of Justice, Region V according to personal factors; (4) to compare the competency levels of employees at the Courts of Justice, Region V according to personal factors; (5) to study the relationship. between competency and human capital potential of employees at the Courts of Justice, Region V. The samples used in the research were 257 employees of the Courts of Justice, Region V out of a total population of 717. The method used for collecting data was a Likert scale questionnaire. The descriptive statistics for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics were t-test, One-way ANOVA, Scheffe's comparison test and Pearson's correlation coefficient test. The results from research were as follows: (1) the potential levels of human capital for both overall and individual aspects of employees at the Courts of Justice, Region V were at a very high mean score and the highest mean were employee’s engagement. (2) the competency level for both overall and individual aspects of employees at the Courts of Justice, Region V were at a very high mean score and the highest mean were trait (3) when compare the human capital potential of employees at the Courts of Justice, Region V by personal factors, the result showed the significant difference at 0.05 level in education and institutional affiliation (4). As compare the employee competency at the Courts of Justice, Region V by personal factors, the result indicated the significant difference at 0.05 level in education, age, service, positions and institutional affiliation (5) as pertaining to the relationship between employee’s competency and human capital potential, the research revealed the moderate strength of relationship at 0.01 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150001.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons