Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9941
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิตพร วิริยกุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T04:00:35Z-
dc.date.available2023-10-16T04:00:35Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9941-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของ นักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2) ระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสม การตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลของ นักศึกษากับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากร คือ นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) ที่เคยซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ซึ่งไม่ทราบจํานวนประชากรที่แน่นอน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคํานวณของ ดับบลิว จีคอร์เกรน ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ได้จํานวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-21 ปี ศึกษา ชั้นปีที่ 2 ในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ และมีรายได้ต่อเดือน 10,001-15,000 บาท (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทบํารุงผิวพรรณ มีค่าใช้จ่ายในการซื้อต่อเดือนต่ํากว่า 1,000 บาท สถานที่ซื้อคือ ร้านค้าสะดวกซื้อ เหตุผลสําคัญในการซื้อเพราะคุณภาพของสินค้า โดยมีเพื่อนเป็นผู้ ร่วมในการตัดสินใจซื้อ (2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์มีสินค้าที่มีคุณประโยชน์ อยู่ใน ระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการจัดจําหน่าย และ (3) ปัจจัยส่วน บุคคล ด้านเพศ อายุ ชั้นปีที่ศึกษา สาขาวิชา และรายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของนักศึกษา เกือบทุกด้าน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์เสริมอาหารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)th_TH
dc.title.alternativePurchasing behavior of dietary supplement products of students in the Faculty of Liberal Arts, Thammasat University (Rangsit Campus)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study was to study: (1) purchasing behavior of dietary supplement products of students in the Faculty of Liberal Arts, Thammasart University (Rangsit Campus); (2) the significance level of marketing mix factors affecting students’ purchasing behavior; and (3) the relationship between personal characteristics of the students and purchasing behavior. This study was a survey research. The population was unknown Liberal Arts students of Thammasart University (Rangsit campus) who purchased dietary supplement products. 400 samples were calculated by W.G. Cochran’s formula, with confidence level of 95 percent. Data was collected through questionnaires. Statistics used in the analysis includes descriptive statistics, namely average value, percentage and standard deviation, and inferential statistics, namely Chisquare. The research found that: the majority of the respondents were female, aged between 20 – 21 years old, currently studying in the second year in Linguistic Department, with monthly income of 10,001 - 15,000 Baht. (1) Most of the responding students purchased dietary supplement products for skin care and spend up to 1,000 Baht per month. The primary purchasing location was convenient stores. Demand was most strongly driven by product quality, whereas decision making was aided by friends. (2) The students rated the significance level of overall marketing mix factors affecting students’ purchasing behavior at a high level. When considering each aspect, it was found that product was the highest, followed by promotion, and place respectively. (3) Personal characteristics including gender, age, academic year, field of study and monthly income had an effect on almost every behavior related to the purchase, at the statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150954.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons