Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.contributor.authorศุภกฤต ลังกาตุง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T04:22:39Z-
dc.date.available2023-10-16T04:22:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9944-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกผู้ใช้บริการสินเชื่อของ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูน จํากัด 2) การใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูน จํากัด 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูน จํากัด 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูน จํากัด วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรคือสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ที่ใช้บริการสินเชื่อของ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูนจํากัด ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 จํานวน 4,504 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กำหนดขนาดตัวอย่างตามวิธีของ ยามาเน่ ได้เท่ากับ 368 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 41 – 50 ปี ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถานภาพสมรส ระยะเวลาการเป็นสมาชิกไม่เกิน 5 ปี มีรายได้ต่อเดือนรวม 25,001 – 35,000 บาท มีรายจ่ายต่อเดือน 5,001 – 10,000 บาท และมีเงินออมของสมาชิกต่อเดือน 6,001 – 9,000 บาท 2) ประเภทสินเชื่อ ที่ใช้บริการส่วนใหญ่ คือประเภท เงินกู้สามัญ ซึ่งจํานวนสินเชื่อที่ใช้บริการ 500,001 – 1,000,000 บาท ระยะเวลา ในการผ่อนชําระ 1 – 10 ปี จํานวนเงินผ่อนชําระต่อเดือน 6,001-9,000 บาท 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผล ต่อการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลําพูน จํากัด ที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านราคา ด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้าน สถานที่ ตามลําดับ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิก พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ระยะเวลาการเป็นสมาชิก รายได้ต่อเดือนรวม รายจ่ายต่อเดือน และเงินออมของ สมาชิกต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับประเภทสินเชื่อที่ใช้บริการ จํานวนเงินกู้ที่ใช้บริการ ระยะเวลาในการผ่อน ชําระ และจํานวนเงินผ่อนชําระต่อเดือน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วน ประสมการตลาดกับการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิก พบว่ามีความสัมพันธ์กันได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ ยกเว้น ด้านสถานที่ และด้านลักษณะทาง กายภาพ ที่ไม่มีความสัมพันธ์กันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำพูน--สมาชิกth_TH
dc.subjectสินเชื่อผู้บริโภคth_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำพูน จำกัดth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the use of loan services of Members of Lumphun Teachers Savings Co-operative Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors of members who used the loan services of Lumphun Teachers Savings Co-operative Limited; 2) their use of the loan services; 3) marketing mix factors that affected their use of the loan services; and 4) the relationship between personal factors and marketing mix factors that affected members’ use of the loan services. This was a survey research. The study population was 4,504 members of Lumphun Teachers Savings Co-operative Limited with outstanding loans owed to the cooperative as of 30 November 2015. Out of these a sample population of 368 was determined using the Taro Yamane method and chosen using accidental sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation and chi square. The results showed that 1) the majority of members who used the cooperative’s loan services was female, in the 41-50 age group, educated to the bachelor’s degree level, married, had been a cooperative member for no more than 5 years, made income in the range of 25,001-35,000 baht a month, had expenses in the range of 5,001-10,000 baht a month, and put 6,001-9,000 baht a month into savings. 2) The majority of samples used the ordinary loan service and took out loans of 500,001-1,000,000 baht to be paid back over 1-10 years in installments of 6001-9,000 baht a time. 3) The marketing mix factors that had a strong influence on the samples’ decision to use the cooperative’s loan services were price, product, service process, promotion, personnel, physical characteristics and place, in that order. 4) The personal factors of sex, age, education, marital status, number of years of membership in the cooperative, income, expenses, and amount of savings per month were all related to type of loan service used, amount of loan, length of payback period, and amount of installments to a statistically significant degree (p<0.05). The marketing mix factors of product, price, promotion, personnel and service process were related to members’ use of loan services, but the factors of place and physical characteristics were not relateden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152099.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons