Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภมิตรา ด่านพานิช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T06:52:40Z-
dc.date.available2023-10-16T06:52:40Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9946-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับโครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ โดยทําการศึกษาจากหน่วยงานองค์การที่ประสบความสําเร็จจากการนําโครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ มาประยุกต์ใช้ ในการศึกษาจะทําการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดความสําเร็จ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเตรียมพร้อมเข้าสู่การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ จากนั้นจะทําการวิเคราะห์โครงสร้างองค์การ ของบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) โดยการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) วิเคราะห์ความจําเป็นและความเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การที่ 2) นําเสนอแนวทางโครงสร้าง องค์การแบบเมตริกซ์ พร้อมทั้งข้อดีและข้อเสีย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าอิสระเชิงวิชาแบบสังเคราะห์ โดยรวบรวมข้อมูล ทุติยภูมิจากเอกสาร งานเขียน รายงานการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ หนังสือคู่มือทางวิชาการสารสนเทศ และ บทความจากแหล่งต่างๆ โดยส่วนใหญ่เอกสารบทความจะเป็นภาษาอังกฤษ แล้วนํามาแปลความ วิเคราะห์เชิง พรรณนา โดยนํามาทําการศีกษาเปรียบเทียบกับโครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ ของบริษัท ปตท.สํารวจ และผลิต ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) เพื่อให้ตอบสนองการเติบโตขององค์การ ที่มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพนานาชาติในวงการ ธุรกิจปิโตรเลียม ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า โครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์จะเน้นใช้กับงานในองค์การที่มีความ ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด ซึ่งเหมาะสมกับโครงการที่ประสบความสําเร็จด้านการสํารวจ และมุ่งสู่การผลิต ซึ่งโครงการ ประเภทนี้จะเป็นโครงการระยะยาวเช่น โครงการที่ประเทศพม่า แต่ขณะเดียวกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด องค์การเองก็ต้องส่งเสริมเรื่องเหล่านี้ เช่น 1) การฝึกอบรมและสื่อสาร ทําความเข้าใจ เรื่องการทํางานแบบที่ต้อง รายงานต่อผู้บังคับบัญชาหลายนายในเวลาเดียวกัน 2) การปรับลดขนาดองค์การ โดยการยุบฝ่ายบางฝ่ายที่มีการ ทํางานซํ้าซ้อนลง 3) การเสริมสร้างวัฒนธรรม ค่านิยมองค์การที่สร้างเสริมคุณลักษณะที่สร้างการประสานงานให้มี จุดหมายเป้าหมายเดียวกันนอกจากนี้ในระหว่างการศึกษานี้ยังนําเสนอให้หามุมมองของผู้บริหารซึ่งอาจจะมาช่วย เสริมสร้างให้การนําแนวทางไปปฏิบัติ เข้มข้นและแข็งแรงมากขึ้น สิ่งเหล่านี้จะเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้ องค์การ ขนาดใหญ่แบบบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) สามารถเติบโต ขยายได้อย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตเลียม จำกัดth_TH
dc.subjectการจัดการองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleโครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์เพื่อการเติบโตขององค์การ กรณีศึกษา "บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตเลียม จำกัด (มหาชน)"th_TH
dc.title.alternativeMatrix organization for company growth opportunity: a case study of 'PTT Exploration and Production public Company Limited'th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study investigated the success of matrix organization in various companies in terms of key success factors, best practices and preparation prior to the initiation of matrix organization and then analyzed the PTT Exploration and Production Public Company Limited. The objectives of this study were (1) to analyze the needs and suitability of organizational structure change; and 2) to suggest the matrix organization application including its advantage and limitation. This independent study was a research synthesis by collecting secondary data from papers, books, journals and online information. The data was translated from English into Thai, interpreted, analyzed and compared with the matrix organization of the PTT Exploration and Production Public Company Limited in order to serve the organizational growth for being a professional in international petroleum businesses. The results showed that matrix organization was suitable for continuing projects especially the manufacturing project which succeeded in surveying and also a long-term project such as a project in Myanmar. At the same time the organization had to support many things in order to increase the maximum organization efficiency including (1) training and communication and the understanding of reporting to many supervisors at the same time; (2) downsizing by reducing the redundant departments; and (3) enhancing the organizational culture for cooperation and the support from the executives. All factors could help the sustainable growth of PTT Exploration and Production Public Company Limiteden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151886.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons