Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิชล รอดตัว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-17T02:17:50Z-
dc.date.available2023-10-17T02:17:50Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9950-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการ ของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (2) ศึกษาระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการ ของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (3) ศึกษาความแตกต่างระหว่างระดับ ความคาดหวังและระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติ ดอนเมือง และ (4) ศึกษาเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการ ของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาค้นคว้าอิสระเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรคือ ผู้ใช้บริการท่าอากาศยาน นานาชาติดอนเมืองชาวไทยจํานวน 11,460,000 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน ทําการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบโดยบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็น แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติทดสอบค่าทีและสถิติทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่า อากาศยานนานาชาติดอนเมืองโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการ ของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและมาก (3) จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ระดับความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการ และระดับการรับรู้ต่อ คุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยต่อสนามบินนานาชาติดอนเมืองโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน และ (4) ระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศ ยานนานาชาติดอนเมืองจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความแตกต่างกัน ทุกด้าน ยกเว้นด้านความถี่ในการเดินทาง ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectท่าอากาศยานดอนเมือง--การจัดการth_TH
dc.subjectผู้โดยสารเครื่องบิน--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยต่อท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองth_TH
dc.title.alternativeCustomer expectations and perceptions toward services of Don Meaung International Airportth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to: (1) study the Thai passengers’ expectations toward the level of services quality of Don Meaung International Airport (2) study the Thai passengers’ perceptions towards the level of services quality at Don Meaung International Airport (3) compare the difference between expectation level and perception level of Thai passengers toward the services quality of Don Meaung International Airport (4) study the expectation level and the perception level of services quality toward Thai passengers at Don Meaung International Airport classified by personnel factors. This independent study was a survey research. The population was 11,460,000 Thai passengers at Don Meaung International Airport. The sample size was 400 people that calculated by Taro Yamane. The survey questionnaires were used as the tool to collect data. Data were was analyzed by statistical tools including frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics which was T-test and F-test. The result from this study found that: (1) the Thai passengers expectations toward the services quality of Don Meaung International Airport was at the highest level (2) the service level of the service quality at Don Meaung International Airport by Thai passengers were at middle level and high level (3) expectation level and perception level of Thai passengers toward the services quality were not different (4) the expectation level and the perception level of services quality toward Thai passengers at Don Meaung International Airport classified by personnel factors are not different in all aspects except for the travelling frequency which has the statistically significant at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149650.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons