Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุคนธ์ทิพย์ โพธิ์หล้า-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-17T02:54:14Z-
dc.date.available2023-10-17T02:54:14Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9953-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการนําหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่น (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของคณะกรรมการเกี่ยวกับ ระดับการนําหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่น จําแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการนําหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสหกรณ์ ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ คณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ในจังหวัดขอนแก่น 9 สหกรณ์ จํานวน 120 รายได้กลุ่มตัวอย่าง 92 ราย ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการนําหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสหกรณ์ออมทรัพย์ ในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า หลักนิติธรรมมี การนําไปปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ หลักความโปร่งใส หลักคุณธรรม และหลัก ความรับผิดชอบ ตามลําดับ (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ระดับการนําหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการ ดําเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่น จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ไม่แตกต่างกัน และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการนําหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัด ขอนแก่น พบว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 3 ตัวแปร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ปัจจัยด้านกลยุทธ์ ปัจจัยด้านรูปแบบการบริหาร และปัจจัยด้านค่านิยมร่วมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่น--การบริหารth_TH
dc.subjectสหกรณ์--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the Good Governance implementation of saving and credit cooperatives in Khonkaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the corporate governance implementation level of Saving and Credit Cooperatives in Khonkaen Province; (2) to compare the committee opinion related to the good governance implementation level, according to personal characteristics; and (3) to study factors affecting of the good governance implementation of and Credit Cooperatives in Khonkaen Province. The population in this study were 120 operation committees of Saving and Credit Cooperatives in Khonkaen Province. The samples (92 committees) were selected by using simple random sampling. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t – test. For analyzing the difference and the relationship of variables one – way Analysis of Variance and Multiple Regression were also reversed. The results reported that: (1) overall the good governance implementation of Saving and Credit Cooperatives in Khonkaen Province shows the highest. By considering in each aspect. The Rule of law is implemented in the highest level followed by Transparency, Morality, and Responsibility, respectively. (2) The opinion of committees relating to the good governance implementation are not different. (3) Factors affecting the good governance implementation are strategy, management style, and share valueen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151523.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons