Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorสุจิกานต์ พันจิตth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-17T03:51:17Z-
dc.date.available2023-10-17T03:51:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9955en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อของลูกค้าโครงการพฤกษาวิลล์ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2) วิเคราะห์การรับรู้คุณค่าตราสินค้า พฤกษาวิลล์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ (3) เปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าตราสินค้า พฤกษาวิลล์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ลูกค้าที่ซื้อทาวน์โฮมพฤกษาวิลล์ ของบริษัท พฤกษาเรียลเอสเตส จํากัด (มหาชน) ทั้งหมด 9 โครงการ จํานวน 320,124 คน คํานวณหาขนาดตัวอย่างตาม สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จํานวน 400 คน และใช้วิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมของลูกค้าพฤกษาวิลล์ส่วนใหญ่เลือกซื้อทาวน์โฮม 2 ชั้น ซื้อเป็นครั้งแรกขนาดที่ดินที่ตัดสินใจซื้อ 20-22 ตรว. ระดับราคา 3.5-4 ล้านบาท ตัดสินใจซื้อ ด้วยตนเอง และให้ความสําคัญกับสถานที่ตั้งของโครงการมากที่สุด (2) การรับรู้คุณค่าตราสินค้าพฤกษาวิลล์โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ทุกๆ ด้านอยู่ในระดับมาก ตามลําดับ คือ การจดจําตราสินค้า ความผูกพันต่อตราสินค้า การรับรู้คุณภาพ และความจงรักภักดีต่อตราสินค้า และ (3) ผลการเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าตราสินค้า จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า อาชีพ และรายได้ที่แตกต่างกัน มีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของพฤกษาวิลล์ที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectตราสัญลักษณ์th_TH
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้คุณค่าตราสินค้า พฤกษาวิลล์ ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativePerceived brand equity of Pruksa Ville brand in Bangkok Metropolitan Area and Vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the behavior of Pruksa Ville consumers in BKK and vicinity; (2) to analyze perceived brand equity of Pruksa Ville; and (3) to compare the factors of perceived brand equity according to customers’ preference. The number of population was customers who bought the Pruksa Ville townhome from Pruksa Real Estate Public Company Limited, all nine projects of the 320,124 samples. The samples selected by simple random sampler method consisted of Taro Yamane has 400 respondents. Online questionnaires were used as an instrument to collect data. Data were analyzed by statistically tools including percentage, mean, standard deviation, t-test; and one way ANOVA. The result showed that: (1) Customer behavior Pruksa Ville mostly were bought two-story townhome, they were bought first times, the decision to buy the land size 20-22 sqw, the price 3.5-4 million baht. The respondents made decision by themselves to buy townhome and location factors were important respectively; (2) an overall the perceived brand equity of Pruksa Ville was at the high level. All aspects of the perceived brand equity of Pruksa Ville was at the high level including brand awareness, brand association, perceived quality, and brand loyalty; and (3) compare the factors of perceived brand equity of Pruksa Ville revealed that consumers except career and income level with different had perceived brand equity differently at the statistically significant 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150244.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons