Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9960
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีธนา บุญญเศรษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภักษร คำจร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-17T07:34:57Z | - |
dc.date.available | 2023-10-17T07:34:57Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9960 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ (2) เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์จำแนกตามข้อมูลทั่วไปของโรงแรม และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 98 โรงแรม กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 79 โรงแรม ซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยเจ้าของโรงแรมเป็นผู้ให้ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ยค่าร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่อยู่ในระดับมาก คือ ด้านความปลอดภัยและสุขภาพ การประเมินผล การปฏิบัติงาน การสรรหา การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ และแรงงานสัมพันธ์ ส่วนด้านที่อยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านการฝึกอบรม การจ่ายค่าตอบแทน และการคัดเลือก ตามลำดับ (2) โรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ที่มีประเภทกิจการแตกต่างกัน มีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านการจ่ายค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบัติงาน และแรงงานสัมพันธ์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนโรงแรมที่มีจำนวนห้องพักของโรงแรมระยะเวลาในการประกอบกิจการ และจำนวนพนักงานของโรงแรมแตกต่างกัน มีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน (3) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์มีปัญหามากที่สุดคือ บุคลากรไม่เพียงพอตามความต้องการ และขาดทักษะในการปฏิบัติงาน ส่วนข้อเสนอแนะคือ ควรมีหน่วยงานทางราชการช่วยเหลือแนะนำอบรมบุคลากรด้านการปฏิบัติงานในโรงแรมอย่างต่อเนื่อง และติดตามผลอย่างใกล้ชิด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงแรม--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | โรงแรม--ไทย--บุรีรัมย์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.title | การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรมในจังหวัดบุรีรัมย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Human resource management of Hotels in Buriram Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study the level of human resource management of hotels in Buriram Province, (2) to compare the human resource management of hotels in Buriram Province by its general information, and (3) to study the problems and proposed solutions for human resource management of hotels in Buriram Province. This study was the survey research. The population was 98 hotels in Buriram Province. The samples were determined by calculation, 79 hotels were gained with Simple Random Sampling. The data is shared by the hotel owner. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and least significant difference test. The results were shown as follows: (1) Human resource management of hotels in Buriram province were at high level. When considered each aspects, the high level were safety and health followed by the evaluation of performance, recruiting, human resource planning and labor relations. The aspects in moderate level were training, the payment of compensation and the selection, respectively. (2) hotels in Buriram which have different types of enterprises were vary in human resource management, compensation management, performance evaluation and labor relations with level of significance equal to 0.05 .The different of number of hotel rooms, period of business and number of employees have no different in human resource management and other aspects (3) The significant problem in human resource management are insufficient employees and lack of working skill. The recommendation is that government agencies should arrange the training to hotel staffs constantly and tracking for the outcome. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
149652.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License