Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวรรณ มูลลีขิต-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-18T02:50:36Z-
dc.date.available2023-10-18T02:50:36Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9967-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้มาใช้บริการสถาบัน การเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้ บริการสถาบันการเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ (3) พฤติกรรมการใช้บริการสถาบันการเงินชุมชน โพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ (4) เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้บริการสถาบันการเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีประชากร คือลูกค้าที่มาใช้บริการสถาบัน การเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ จำนวน 629 คน กำหนดขนาดของตัวอย่างโดยใช้ ่ สูตรทาโร่ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้ 245 คน และใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และเปรียบเทียบพฤติกรรมใช้การทดสอบค่าที และ การทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพสมรส อายุตั้งแต่ 41-50 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาปี ที่ 6 อาชีพเกษตรกร รายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 5,000 บาท (2) ความสำคัญปัจจัยส่วนประสมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า ทุกด้านซึ่งได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริม การตลาด ด้านบุคคล ด้านกายภาพ และด้านกระบวนการ อยู่ในระดับมากเช่นกัน (3) พฤติกรรมการ ใช้บริการสถาบันการเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์พบว่า มีความถี่ในการใช้บริการต่อเดือน ต่ำกว่า 4 ครั้ง ส่วนเหตุผลที่ใช้บริการเนื่องจาก อยู่ใกล้บ้านสะดวกบุคคลที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใช้ บริการคือ ครอบครัว และได้รับข้อมูลการให้บริการจากผู้นำท้องถิ่น (4) เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรม การใช้บริการของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตาม เพศ สถานภาพ อายุ และอาชีพ พบว่าไม่แตกต่างกัน แต่ เมื่อจำแนกตามระดับการศึกษาและรายได้พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันการเงิน--ไทย--ร้อยเอ็ดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้บริการสถาบันการเงินชุมชนโพธิ์น้อยศรีสวัสดิ์ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeCustomer behavior of using service of the Ponoisrisawat Community of Financial Institution, Roi-Et Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research aims to study 1)personal factors of the service users of Ponoicesawat community of financial institution 2)the importance of the marketing mix towards service of Ponoicesawat community of financial institution 3)the behavior of Ponoicesawat community of financial institution 4)compare the behavior of Ponoicesawat community of financial institution by personal factors. The study is a survey research by the population is the customers who to Ponoicesawat community of financial institution 629 people, a small set of examples using formula Taro Yamane at a confidence level of 95% to 245 people and a random sample, accidentally the instrument used was a questionnaire the statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and comparison of the T-test and F-test. The results showed that 1)that most respondents were female, marital status was married, age of 41-50 years old, educational more the high school, working of private agriculturist, private business owner with the average monthly income lower 5,000 bath 2)the importance of the marketing mix mix in high level. Overall, the high level. When considering that the of product, price, place, promotion, people, physical environment and process in high level as well. 3)the behavior of Ponoicesawat community of financial institution found that the frequency lower 4 time a month, the reason that use to service because near convenient house, participation in decision was a priority for families and get services from local leaders 4)in comparison service behavior of the sample by sex, age and professional status were not different. But by level of education and income were significantly different, 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141021.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons