Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9973
Title: การมีส่วนร่วมทางการเมืองของครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
Other Titles: Political participation of Triamudomsuksa School teachers
Authors: สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษา
กาญจนา วัธนสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษา
พิศวาส ยุติธรรมดำรง, 2491-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณี
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ครู--แง่การเมือง
การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง
Issue Date: 2549
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิของการดำเนินงานของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลของกรมสามัญศึกษากับโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการ ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับผลสัมฤทธิของการดำเนินงานของโรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งในและนอกโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลในหมวดการบริหารการจัดการศึกษา การบริหารงานทั่วไป หมวดการสนับสบุนการเรียนการสอน หมวดการจัดการเรียนการสอน และหมวดผลลัมฤทธิของผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีผลส้มฤทธิของ การดำเนินงานผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ ผลสัมฤทธิทางต้านความรู้และความสามารถของผู้เรียน 2. ผลสัมฤทธิการดำเนินงานต้านการสนับสนุนการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยตํ่าที่สุดและด้านการ บริหารการชัดการศึกษา การบริหารงานทั่วไปมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3. ผลสัมฤทธิของการดำเนินงานระหว่างโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการลับโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการ ของหมวดการบริหารการชัดการศึกษาและการบริหารทั่วไป หมวดการเรียนการสอนทั้งการดำเนินงานในระดับ สถานศึกษาและในระดับผู้ปฏิบัติการสอน และหมวดผลสัมฤทธิทางการเรียน ทั้งในต้านความรู้ความสามารถของ ผู้เรียนและต้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ผลสัมฤทธิ การดำเนินงานในหมวดการสนับสนุนการเรียนการสอนของโรงเรียนในโครงการและนอกโครงการแตกต่างคัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่ผลการดำเนินงานของโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการอยู่ในระดับที่สูงกว่า ข้อเสนอแนะคือโรงเรียนทั้งสองประเภทควรให้ความสนใจในการสนับสนุนด้านการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์ประกอบที่มีผลต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักเรียนซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการศึกษา และเนื่องจากโรงเรียนในโครงการมีผลการดำเนินงานที่ไม่ต่างไปจากโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการและบางรายการ มีผลการดำเนินงานตํ่ากว่า ดังนั้นควรมีการทบทวนและปรับปรุงโครงการในต้านต่างๆ ให้โรงเรียนสามารถ ดำเนินงานไต้ตามมาตรฐานสากลที่กรมสามัญศึกษาต้องการ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9973
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
95510.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons