Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9973
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร | th_TH |
dc.contributor.author | พิศวาส ยุติธรรมดำรง, 2491- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-18T07:40:37Z | - |
dc.date.available | 2023-10-18T07:40:37Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9973 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิของการดำเนินงานของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลของกรมสามัญศึกษากับโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหาร หัวหน้าหมวดวิชาและครูผู้สอนทุกหมวดวิชาจากโรงเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 9 โรงเรือน และโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการ 9 โรงเรือน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินสภาพปัจจุบันของโรงเรือนซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 3 4 และ 5 ระดับ ที่สู้วิจัยปรับปรุงจากเครื่องมือที่คณะกรรมการประเมิน โรงเรือนในโครงการโรงเรืยมมาตรฐานสากลของกรมสามัญศึกษาได้พัฒนาขึ้น ค่าความเที่ยง (reliabilis) ของเครื่องมือทีปรับปรุงแล้วมีค่าระหว่าง 0.81-0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการทดสอบค่าที (r-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.ระดับผลสัมฤทธิของการดำเนินงานของโรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งในและนอกโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลในหมวดการบริหารการจัดการศึกษา การบริหารงานทั่วไป หมวดการสนับสบุนการเรียนการสอน หมวดการจัดการเรียนการสอน และหมวดผลลัมฤทธิของผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีผลส้มฤทธิของ การดำเนินงานผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ ผลสัมฤทธิทางต้านความรู้และความสามารถของผู้เรียน 2. ผลสัมฤทธิการดำเนินงานต้านการสนับสนุนการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยตํ่าที่สุดและด้านการ บริหารการชัดการศึกษา การบริหารงานทั่วไปมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3. ผลสัมฤทธิของการดำเนินงานระหว่างโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการลับโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการ ของหมวดการบริหารการชัดการศึกษาและการบริหารทั่วไป หมวดการเรียนการสอนทั้งการดำเนินงานในระดับ สถานศึกษาและในระดับผู้ปฏิบัติการสอน และหมวดผลสัมฤทธิทางการเรียน ทั้งในต้านความรู้ความสามารถของ ผู้เรียนและต้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ผลสัมฤทธิ การดำเนินงานในหมวดการสนับสนุนการเรียนการสอนของโรงเรียนในโครงการและนอกโครงการแตกต่างคัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่ผลการดำเนินงานของโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการอยู่ในระดับที่สูงกว่า ข้อเสนอแนะคือโรงเรียนทั้งสองประเภทควรให้ความสนใจในการสนับสนุนด้านการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์ประกอบที่มีผลต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักเรียนซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการศึกษา และเนื่องจากโรงเรียนในโครงการมีผลการดำเนินงานที่ไม่ต่างไปจากโรงเรียนที่อยู่นอกโครงการและบางรายการ มีผลการดำเนินงานตํ่ากว่า ดังนั้นควรมีการทบทวนและปรับปรุงโครงการในต้านต่างๆ ให้โรงเรียนสามารถ ดำเนินงานไต้ตามมาตรฐานสากลที่กรมสามัญศึกษาต้องการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | ครู--แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมทางการเมืองของครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Political participation of Triamudomsuksa School teachers | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to investigate and compare the operational accomplishments of the secondary schools, participating and non-participating to the International Standard School Project under the jurisdiction of the Department of General Education. The sample comprised the administrators, deputy administrators, and heads of subject departments and teachers, drawn and randomly drawn from 18 secondary schools, 9 of which are under the project. The data collecting instruments were modified from the Secondary School Current Status Evaluation Forms developed by the Evaluation Committee for the International Standard School Project. The validity of the modified evaluation forms ranged between 0.81-0.92. Arithmetic mean, standard deviation and percentage were used for data analysis. The difference of the accomplishments between schools participating and nonparticipating to the Project were compared by t-test. The research findings were as follows: 1. The operational accomplishments regarding the educational and general administration, the teaching-learning support, the teaching-learning management, and the students’ performance regarding the desirable characteristics were rated as meeting the criteria while the students’ performance regarding academic achievement was the only aspect rated as lower than the criteria. The case could be applied for both types of schools. 2. The teaching-learning support was accomplished at the lowest level and the educational and general administration was the highest level. 3. The accomplishments of both types of schools, regarding the educational and general administration, teaching-learning management, and the students’ performance were not significantly different at the .05 significant level. The difference was found in the accomplishment of the teaching-learning support. The schools in the Project were rated lower than the others. The suggestion was that both schools under and outside the Project should concentrate in providing support to enrich the factors effective to the learning - teaching outcomes, in order to activate the students achievement, as it is the core of the education. Since the schools under the Project accomplished their tasks in the same or even at lower levels than others, so the Project should be reviewed and modified to meet the needs for the International standard. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กาญจนา วัธนสุนทร | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
This item is licensed under a Creative Commons License