Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9995
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชํานิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ไกรศรีรินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-20T07:29:05Z-
dc.date.available2023-10-20T07:29:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9995-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการใน สํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการ ในสํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 (3) เปรียบเทียบความผูกพันธ์ต่อองค์การของข้าราชการใน สํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของ ปัจจัยที่มีอิทธิพลกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการในสํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นประชากรทั้งหมดคือ ข้าราชการสํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 จํานวน 120 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียวและการทดสอบสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการในสํานักงานสรรพากร พื้นที่ปทุมธานี 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยระดับสูงสุดคือ ด้านความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ องค์การ ค่าเฉลี่ย 4.05 รองลงมาคือ ด้านความจงรักภักดีมีค่าเฉลี่ย 3.99 และด้านการยอมรับในองค์การ มีค่าเฉลี่ย 3.72 (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา รายด้านพบว่า ด้านคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยู่ในระดับสูงสุดมีค่าเฉลี่ย 3.66 รองลงมาคือ ด้าน ลักษณะงานที่ทํามีค่าเฉลี่ย 3.48 และด้านความสัมพันธ์ในองค์การมีค่าเฉลี่ย 3.61 (3) การเปรียบเทียบ ความผูกพันธ์ต่อองค์การของข้าราชการในสํานักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1 จําแนกตามปัจจัยส่วน บุคคลพบว่า อายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลกับความผูกพันต่อองค์การ พบว่า ด้านความสัมพันธ์ในองค์การมีความสัมพันธ์ในระดับสูงสุด รองลงมาคือ ด้านลักษณะงานที่ทํา ด้านคุณภาพชีวิตในการทํางาน และด้านค่าตอบแทนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันองค์การของข้าราชการสำนักงานสรรพากรพื้นที่ปทุมธานี 1th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of government officials of Pathum Thani Area 1 Revenue Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the level of organizational commitment of government officials of Pathum Thani Area 1 Revenue Office; (2) to study the factors that influenced the organizational commitment of government officials; (3) to compare the organizational commitment of government officials, classified by personal factors; and (4) to study the relationship between the factors that influenced the organizational commitment of government officials. The population of this survey research consisted of 129 government officials of Pathum Thani Area 1 Revenue Office. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The descriptive statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation, and the inferential statistics used were t-test, one-way ANOVA, and Pearson’s product moment correlation coefficient. The results of the study showed that: (1) the level of organizational engagement of government officials was overall at a high level. As for individual aspects, at the highest level was the unity of the organization ( Χ =4.05), followed by loyalty ( Χ =3.99), and acceptance of organization ( Χ = 3.72); (2) the factors that influenced organizational commitment was overall at a high levels. As for individual aspects, it was found that quality of work life was at the highest level ( Χ =3.66), followed by the characteristics of work ( Χ =3.48) and the relationship within the organization ( Χ =3.61); (3) the comparing results of organizational commitment of government officials in Pathum Thani Area 1 Revenue Office, classified by personal factors showed that government with different ages and average monthly incomes had different organizational commitment, with a statistical significance at 0.05 level; and (4) the relationship between the factors that influenced organizational commitment revealed that the relationship within the organization was correlated at the highest level, followed by work characteristics, quality of work life, and compensationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142644.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons