Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10049
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ วิภาสศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจริยาวดี ชูวงศ์ศิริกุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T02:52:30Z-
dc.date.available2023-10-27T02:52:30Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10049-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต (2) ตรวจสอบคุณภาพ แบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 600 คน ได้มา โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดย หาความตรงเชิงเนื้อหา ความยาก อำนาจ จำแนก และความเที่ยง ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้แบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1 ฉบับ ประกอบด้วยข้อสอบ 36 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อสอบแบบปรนัย จำนวน 32 ข้อ วัดทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา 8 ข้อ ด้านความสามารถในการให้เหตุผล 8 ข้อ ด้าน ความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ 8 ข้อ และด้าน ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ 8 ข้อ และตอนที่ 2 เป็นข้อสอบแบบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ วัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้านความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ (2) แบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยค่าดัชนีความ สอดคล้องอยู่ระหว่าง .80 ถึง 1.00 ค่าความยากของข้อสอบตอนที่ 1 อยู่ระหว่าง .48 ถึง .59 และตอน ที่ 2 อยู่ระหว่าง .52 ถึง .63 ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบตอนที่ 1 อยู่ระหว่าง .47 ถึง .77 และตอนที่ 2 อยู่ระหว่าง .56 ถึง .73 ค่าความเที่ยงของแบบวัด ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา เท่ากับ .99 ด้าน ความสามารถในการให้เหตุผลเท่ากับ .98 ด้านความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนำเสนอ เท่ากับ .99 ด้านความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ เท่ากับ .98 และด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เท่ากับ 99 ค่าความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับ เท่ากับ 97th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.151-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeThe development of a mathematics process skills test for Mathayoms Suksa III students in schools under the Office of Phuket Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.151-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) develop a mathematics process skills test for Mathayom Suksa VI students in schools under the Office of Phuket Educational Service Area; and (2) verify quality of the developed mathematics process skills test for Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Phuket Educational Service Area. The research sample consisted of 600 Mathayom Suksa III students in the 2007 academic year, obtained by stratified random sampling. The developed research instrument was a mathematics process skills test for Mathayom Suksa III students. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, difficulty indices, discriminating indices, and reliability. Research findings were as follows: The developed mathematic process skills test contained 36 test items and comprised two parts. Part 1 contained 32 objective test items for assessment of the mathematics process skills of problem solving (8 items); reasoning (8 items); mathematics communication and presentation (8 items); and connection between various branches of mathematics knowledge and between mathematics and other fields (8 items). Part 2 contained four essay type test items for assessment of the mathematics process skill of creative thinking. The developed mathematics process skills test had content validity as shown by the IOC ranging from .80 to 1.00. The difficulty indices of items in Part 1 ranged from .48 to .59; and for Part 2 ranged from .52 to .63. The discriminating indices of items in Part 1 ranged from .47 to .77; and for Part 2 ranged from .56 to .73. For reliability of the test, that of the items to assess problem solving ability was .99; that of the items to assess reasoning ability was .98; that of the items to assess mathematics communication and presentation abilities was .99; that of the items to assess mathematics knowledge connection ability was .98; that of the items to assess creative thinking was .99; and reliability of the whole test was found to be .97en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdf5.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons