กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10055
ชื่อเรื่อง: แนวปฏิบัติการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล สำหรับโรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Guidelines on violence incident management in hospital for Yangtalad Hospital, Kalasin Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: เอกพล กาละดี
ช่อผกา กิติชัยวรรณ, 2526-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
คำสำคัญ: โรงพยาบาลยางตลาด
ความรุนแรงในโรงพยาบาล--การจัดการ
การศึกษาอิสระ--วิทยาศาสตร์สุขภาพ
วันที่เผยแพร่: 2564
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: เหตุการณ์ความรุมแรงในโรงพยาลที่เกิดขึ้นกันกับบุคลากรทั้งความรุมแรงต่อร่างกาย และความรุนแรงต่อจิตใจเป็นปัญหาที่พบมากขึ้นในประเทศไทย ผู้ก่อเหตุความรุนแรงในโรงพยาบาลส่วนใหญ่คือ ผู้ป่วย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย การป้องกันและการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมจะช่วยลดผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดกับบุคลากรและองค์กร การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวปฏิบัติการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล สำหรับโรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อช่วยส่งเสริมความปลอดภัยของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องชั้นตอนการจัดทำนนาปฏิบัติ ได้แก่ (1) การพบพวนวรรณกรรมที่อื่นที่อง (2) จัดทำร่างแนวปฏิบัติการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล สำหรับโรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ (3) ครวจสอบคุณภาพร่างแนวปฏิบัติโคยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.96 และปรับแก้ไขตามคำแนะนำ (4) นำแนวปฏิบัติไปทดลองใช้กับบุคลากร โรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ จำนวน 30 คน เป็นระยะเวลา2 สัปดาห์ และ (5) ประเมินผลความพึ่งพอใจการใช้งานแนวปฏิบัติ ผลการดำเนินงาน ได้แนวปฏิบัติการชัดการหดูการณ์ความรุมแรงในโรงพยาบาล สำหรับโรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อหาประกอบด้วย (1) บทนำ (2) ความหมาย ประเภท และผลกระทบของเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล (4) กลยุทธ์และแนวทางการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล (5) บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล และ (6) แนวปฏิบัติการจัดการเหตุการณ์ความรุนแรงในโรงพยาบาล สำหรับโรงพยาบาลยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลการทคลองใช้พบว่าบุคลากรมีความพึ่งพอใจต่อการใช้แนวปฏิบัติโดยรวมในระดับมากที่สุด
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10055
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
168790.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons