กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10057
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorตามพงษ์ วงษ์จันทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T06:23:03Z-
dc.date.available2023-10-27T06:23:03Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10057-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตน ในบุคคลที่ สูญเสียแขนขา ก่อนและหลังการให้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม และ (2) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนในบุคคลที่สูญเสียแขนขา ภายหลังการทดลองระหว่าง กลุ่มที่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม กับกลุ่มที่ได้รับ ข้อสนเทศ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 16 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย และสุ่มอย่างง่ายอีกครั้งเป็น กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คนเริ่มต้นการทดลองจากการให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดการ รับรู้ความสามารถของตน ก่อนการให้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรม ขั้น ดำเนินการใช้เวลาในการทำกิจกรรมกลุ่ม 10 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง 30 นาทีเป็นเวลา 2 สัปดาห์ จากนั้น เก็บข้อมูลหลังการทดลองจากแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนชุดเดิม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเป็นแบบวัดที่ได้หาค่าความเที่ยงแบบอัลฟ่า เท่ากับ .92 และ โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตน ของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคคลที่สูญเสียแขนขา มีการรับรู้ความสามารถของตนสูงขึ้นภายหลัง การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีการพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม และ (2) มีการรับรู้ ความสามารถของตนสูงขึ้นกว่าบุคคลที่สูญเสียแขนขากลุ่มที่ได้รับข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคคลที่สูญเสียแขนขา ณ สถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพพระประแดง--ไทย--สมุทรปราการth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectความสามารถในตนเองth_TH
dc.subjectการรับรู้ตนเองth_TH
dc.titleผลการให้การปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมที่มีผลต่อการรับรู้ความสามารถของตน ของบุคคลที่สูญเสียแขน ขา สถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeThe effects of group conseling by rational emotive behavior therapy consideration on enhancement of self-efficacy perception of the leg or hand amputated persons in Phra Pradaeng Home for the Disabled, Samut Prakan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to compare self-efficacy perceptions of the leg or hand amputated persons before and after receiving group counseling by rational emotive behavior therapy consideration, and to compare self-efficacy perception of the leg or hand amputated persons in the experimental group who received group counseling by relational emotion behavior therapy consideration with that of those in the control group who received the provided counseling information. The research sample consisted of 16 randomly selected leg or hand amputated persons in Phra Padaeng Home for the Disabled, Samut Prakan province. They were randomly assigned into the experimental and control groups each of which comprised eight persons. Before the experiment, both groups were administered with a self-efficacy assessment form. After that, the experimental group received group counseling by rational emotive behavior therapy consideration; while the control group received the provided counseling information. A total number of ten sessions of group counseling by rational emotive behavior therapy consideration was provided for the duration of two weeks, each session taking 1 hour and 30 minutes. After that, both the experimental and control groups were again administered with the self-efficacy assessment form. The employed research instruments comprised a self-efficacy assessment form with alpha coefficient of .92 for reliability; and a program of group counseling by rational emotive behavior therapy consideration. The statistical procedures employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings of this study showed that (1) after receiving group counseling by rational emotive behavior therapy consideration, the leg or hand amputated persons had significantly higher scores on self-efficacy at the .05; and (2) level. Also, leg or hand amputated persons in the experimental group receiving group counseling by rational emotive behavior therapy consideration had significantly higher self-efficacy scores, at the .05 level, than the counterpart scores of those in the control group receiving the provided counseling information.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf7.94 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons