Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐกูล เนียมจ้อย, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T03:24:51Z-
dc.date.available2023-10-30T03:24:51Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10080-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) ประเมินความเหมาะสมด้านกระบวนการดำเนินงานของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (3) ประเมินด้านผลผลิตของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ (4) ศึกษาแบบปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 จำนวน 180 แห่ง ซึ่งผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูหัวหน้างานการประกันคุณภาพการศึกษา และครูผู้สอนในสถานศึกษา รวม 540 คน และสถานศึกษาที่มีแบบปฏิบัติที่ดี จำนวน 3 แห่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลของการประเมินความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้น โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินและผ่านเกณฑ์การประเมินในทุกด้าน (2) ผลของการประเมินความเหมาะสมด้านกระบวนการดำเนินงาน โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินและผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้าน (3) ผลการประเมินผลผลิตโดยภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินทุกมาตรฐาน (4) ผลการศึกษาแบบปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตระหนักถึงความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา บริหารงานด้วยการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ใช้วัฒนธรรมคุณภาพในบริหารงานการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบตรวจสอบได้ ครูผู้สอนมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้นและผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตรงตามมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายที่สถานศึกษาได้กําหนดไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.titleการประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4th_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of internal quality assurance system of basic education schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 4en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to evaluate the readiness of input factors of internal quality assurance system of basic education schools; (2) to evaluate the appropriateness of the process of internal quality assurance system of basic education schools; (3) to evaluate the output of internal quality assurance system of basic education schools; and (4) to study the best practice in the operation of internal quality assurance system of basic education schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 4. The research sample comprised 180 basic education schools under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 4. The research respondents consisted of 540 personnel of the schools classified into school administrators, teachers working as heads of the school’s internal quality assurance system, and classroom teachers. Also, there were respondents from three schools with best practice in internal quality assurance. The employed research instruments were a questionnaire, an interview form, and a data recording form. Research data were analyzed with the use of the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings showed that (1) regarding evaluation results of the readiness of input factors, both the overall and every specific input factor passed the evaluation criteria; (2) regarding evaluation results of the appropriateness of the process of internal quality assurance system, both the overall and every specific aspect of the process passed the evaluation criteria; (3) regarding evaluation results of the output of internal quality assurance system, the overall output of the system passed the evaluation criteria in every standard; and (4) regarding results of the study of best practice in the operation of internal quality assurance system of the schools, it was found that the administrators and teachers understood and realized the importance of educational quality assurance; the schools used the participatory management system in development of educational quality and used the quality culture in systematically administration of internal quality assurance that can be examined; the teachers had the potential to organize learner-centered instructional activities resulting in enabling the learners to increase their learning achievement and have den_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165534.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons