Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10083
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาสนา ทวีกุลทรัพย์ | th_TH |
dc.contributor.author | โสภิต กาญจนวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T03:42:42Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T03:42:42Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10083 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการสอน แบบศูนย์การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการให้เหตุผล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรีเขต 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80 / 80 (2) ศึกษาความก้าวหน้า ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบ ศูนย์การเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสายธรรมจันทร์ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 47 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 การให้เหตุผลแบบอุปนัย หน่วยที่ 2 การให้เหตุผลแบบนิรนัย และหน่วยที่ 3 การสร้างแผนภาพอธิบายการให้เหตุผล (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ การสอนแบบศูนย์การเรียน สถิติที่ใช้ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E,การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพ 81.18/78.33, 81.74/80.27, 82.08/80.83 ตามลำดับเป็นไปตามเกณฑ์ ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วย ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียนมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.295 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | อิเล็กทรอนิกส์--แบบเรียนสำเร็จรูป | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ--ไทย--ราชบุรี | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีทางการศึกษา--แบบเรียนสำเร็จรูป | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ราชบุรี | th_TH |
dc.title | ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการให้เหตุผลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | e-Learning center packages for mathematic learning area on reasoning for Matayom suksa IV students in Rachaburi Educational Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.295 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | . The purposes of this study were three-folds: (1) to develop a set of Learning Center e-Learning packages for Mathematics Learning Cluster on Reasoning for Mathayom Suksa IV students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the progress of the students learning from the Learning Center e-Learning packages for Mathematics Learning Cluster ; and (3) to study the opinion of the students on the quality of Learning Center e-Learning packages for Mathematic. Learning Cluster on Reasoning. Samples were 47 Matayom IV students at Saithammachan School in Rachaburi Educational Service Area 2 who were studying in the Second Semester of Academic Year 2550 using the purposive sampling technique. Research tools comprised (1) Three units of e-Learning packages for learning center instruction in Mathematics Learning Area on Reasoning, namely Unit 1: Inductive Reasoning; Unit 2: Deductive Reasoning; and Unit 3: Creating Reasoning Flow-charts; (2) Pretests and posttests in parallel forms; and (3) Questionnaires asking the students' opinion on the quality of the Learning Center e-Learning packages in Mathematic Learning Cluster on Reasoning; and (4) Statistics used were Ei/E2, percentage, and Standard Deviation. Findings: It was found that (1) the three units of e-Learning packages for learning center were efficient at 81.18/78.33, 81.74/80.27; and 82.08/80.83 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning progress of the students learning from the e-Learning packages for learning center was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the e-Learning packages for learning center was "Highly Agreeable". | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปรีชา เนาว์เย็นผล | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License