Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินิจ เทือกทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิชญา สุทธิสุข, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T03:10:47Z-
dc.date.available2023-10-31T03:10:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10145-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงโดยใช้เทคนิค KWDL กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าวของนักเรียนในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความรู้สึกเชิงจำนวน เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง โดยใช้เทคนิค KVMDL กับความรู้สึกเชิงจำนวนดังกล่าวของนักเรียนในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้วิธีสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนลุมพลีชนูปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 2 ห้องเรียน มีนักเรียนห้องละ 30 และ 32 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด โดยการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงโดยใช้เทคนิค KWDL (2) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบปกติ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด และ (4) แบบทดสอบวัดความรู้สึกเชิงจำนวน เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ one-way AMANOVA ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงโดยใช้เทคนิค KWDL สูงกว่าของนักเรียนในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความรู้สึกเชิงจำนวน เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงโดยใช้เทคนิค KWDL สูงกว่าของนักเรียนในกลุ่มที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงโดยใช้เทคนิค KWDL เรื่อง โจทย์ปัญหาการชั่ง ตวง วัด ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความรู้สึกเชิงจำนวน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of mathematics learning activities related to real life using KWDL technique in the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems on mathematics learning achievement and number sense of Pratom Suksa III students in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare mathematics learning achievements in the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems of Prathom Suksa III students in the group learning from mathematics learning activities related to real life using KWDL technique with that of students in the group learning from conventional teaching; and (2) to compare number sense in the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems of Prathom Suksa III students in the group learning from mathematics learning activities related to real life using KWDL technique with that of students in the group learning from conventional teaching. The research sample consisted of 62 Prathom Suksa III students in two intact classrooms of Lumplee Chamupatham School in Phra Nakhon Si Ayutthaya province during the first semester of the 2019 academic year, obtained by cluster random sampling. One classroom contained 30 students; the other classroom, 32 students. The employed research instruments consisted of (1) mathematics learning management plans on the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems for learning activities related to real life using KWDL technique; (2) mathematics learning management plans on the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems for learning activities under conventional teaching; (3) an achievement test on the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems; and (4) a number sense test on the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and one-way MANOVA. Research findings showed that (1) mathematics learning achievement in the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems of Prathom Suksa III students in the group learning from mathematics learning activities related to real life using KWDL technique was significantly higher than that of the students in the group learning under conventional teaching at the .05 level of statistical significance; and (2) number sense in the topic of Weighting, Quantifying and Measuring Word Problems of Prathom Suksa III students in the group learning from mathematics learning activities related to real life using KWDL technique was significantly higher than that of the students in the group learning under conventional teaching at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165480.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons